Page 240 -
P. 240

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                              ศักยภำพของชุมชนหมู่ที่ 1 บ้ำนเกำะกลำง


                                นอกจำกชุมชนจะมีควำมโดดเด่นในเรื่องของกำรอนุรักษ์และจัดกำรทรัพยำกรชำยฝั่งและ
               ป่ำชำยเลน แล้วชุมชนเกำะกลำงยังมีแหล่งเรียนรู้อีกจ ำนวนมำกที่ผู้มำเยือนสำมำรถเข้ำมำแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ

               คนในชุมชนได้
                                “ประมงชำยฝั่ง (ประมงน้ ำตื้น) วิถีชีวิตของชำวเกำะกลำง” กำรท ำประมงชำยฝั่งนั้น

               เรียกได้ว่ำเป็นวิถีชีวิตอันดั้งเดิมของชำวเกำะกลำงที่สืบทอดควำมรู้และภูมิปัญญำมำกจำกคนในสมัยก่อน ชำวเกำะ
               กลำงส่วนใหญ่จะมีควำมรู้เรื่องกำรวำงอวนปลำ กำรท ำโป๊ะน้ ำตื้น กำรวำงลอบปู กำรสักหอย ฯลฯ ส่วนมำกสัตว์
               ที่จับได้ก็จะมีปลำจำระเม็ด ปลำหมึกกล้วย ปลำมง ปลำสำก ปลำทรำย ปูม้ำ กุ้งแชบ๊วย เป็นต้น ส ำหรับกำรสักหอย

               (กำรขุดหอย) นั้น ชำวบ้ำนจะท ำกำรบริเวณชำยหำดในช่วงที่น้ ำลด โดยหอยที่พบมำกบริเวณชำยหำดเกำะกลำงคือ

               หอยหวำน หอยรำก หอยเม็ดขนุน หอยจุ๊บแจง หอยปำกหนำ หอยแครง และอีกนำนำชนิด ชำวบ้ำนจะน ำไม้แหลม
               กลมๆ ยำวพอมือ มำเดินแทงลงบนพื้นทรำย กำรแทงแบบนี้ชำวบ้ำนเขำเรียกว่ำ “สักหอย” ซึ่งชำวบ้ำนแต่ละคนก็จะ
               มีวิธีสังเกตและวิธีหำที่แตกต่ำงกัน ท ำให้สำมำรถจับหอยได้หลำกหลำยชนิด


                                “กำรศึกษำเรียนรู้ป่ำชำยเลน” ป่ำโกงกำงบริเวณเกำะกลำงขึ้นชื่อว่ำเป็นป่ำชำยเลนที่
               อุดมสมบูรณ์ โดยป่ำโกงกำงที่นี่จัดเป็นพื้นที่ชุ่มน้ ำล ำดับที่ 1,100 ของโลก มีเนื้อที่กว่ำ 100,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่

               จำกหน้ำเมืองกระบี่ เกำะกลำง ไปจนถึงเกำะศรีบอยำ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่อุดมสมบูรณ์ เกำะกลำง

               กลำยเป็นแหล่งดูนกที่ดึงดูดทั้งนักดูนกชำวไทยและชำวต่ำงชำติ ส ำหรับนกที่เห็นทั่วไปก็จะเป็น นกนำงนวล นกกระสำ
               ขำว-ด ำ ส่วนที่หำยำกนั้น เช่น นกคิงฟิชเชอร์ นกแต้วแล้วป่ำโกงกำง เป็นต้น


                                “กำรท ำนำ ปลูกข้ำวสังข์หยด” ข้ำวสังข์หยดที่เกำะกลำงนั้นมีควำมโดดเด่นต่ำงจำกที่อื่น
               เนื่องจำกข้ำวจะมีควำมหอมและหุงขึ้นหม้อ เพรำะพื้นที่โดยรอบเป็นน้ ำเค็มท ำให้ดินที่นี่มีควำมพิเศษ ข้ำวที่ได้จึง
               แตกต่ำงจำกที่อื่น


                                “ผ้ำปำเต๊ะ ลวดลำยโดดเด่นเฉพำะตัว”  กำรท ำผ้ำปำเต๊ะของที่นี่เป็นกำรรวมกลุ่มกันของ

               ชำวบ้ำน ซึ่งได้แนวคิดและวิธีกำรท ำมำจำกจังหวัดปัตตำนี โดยวิธีกำรท ำผ้ำปำเต๊ะของชำวเกำะกลำงจะมีรูปแบบ
               เฉพำะตัว แตกต่ำงกับที่อื่นตรงที่ผ้ำปำเต๊ะของที่นี่มีกำรผสมผสำนกันระหว่ำงกำรท ำผ้ำปำเต๊ะของชำวมำเลย์กับวิธีกำร

               ท ำผ้ำบำติก โดยจะใช้แม่พิมพ์โลหะจุ่มในเทียนที่ร้อน จำกนั้นน ำพิมพ์ลงบนผ้ำขำว แล้วน ำไปย้อมในอ่ำงสี และน ำไป
               ย้อมในอ่ำงน้ ำเกลืออีกครั้ง เพื่อให้สีติดทนทำน จำกกระบวนกำรดังกล่ำวท ำให้สีสันและลวดลำยผ้ำที่ออกมำนั้นมี
               ควำมโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพำะตัว


                                 “เรือหัวโทงจ ำลอง สัญลักษณ์อีกอย่ำงหนึ่งของกระบี่” กำรสำธิตกำรท ำเรือหัวโทงจ ำลองเป็น

               กำรสืบสำนวิถีชีวิตของชำวเกำะกลำงสมัยก่อนที่นิยมใช้เรือหัวโทงท ำประมงและใช้ในกำรเดินทำง ซึ่งในปัจจุบันอำชีพ
               กำรประกอบเรือหัวโทงได้ลดน้อยลงจำกเดิมไปมำก เนื่องจำกมีกำรใช้งำนที่ลดลงและรูปแบบเรือหัวโทงดั้งเดิมนั้นก็หำ

               ดูได้ยำกมำกขึ้น จึงท ำให้ชำวบ้ำนจึงรวมกลุ่มกันเพื่อท ำเรือหัวโทงจ ำลองขึ้น






                                                           7-67
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245