Page 205 -
P. 205

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


               (Acrostichum speciosum) และตะบัน (Xylocarpus rumphii) มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.81, 0.375, 0.375,
               0.25, 0.063, 0.063 และ 0.063 ตามล าดับ ในส่วนของไม้หนุ่มในแปลงส ารวจพบจ านวน 3 ชนิด ได้แก่ ตะบูนขาว

               แสมด า และน้ านอง มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.25 0.063 และ 0.63 ตามล าดับ ดังในตารางที่ 7-14


                                     แปลงส ารวจสังคมพืชป่าชายเลนแปลงที่ 3 ในแปลงส ารวจนี้พบไม้ต้นทั้งหมด 6  ชนิด
               ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ตะบูนขาว ตะบูนด า แสมด า (Avicennia officinalis) โกงกางใบใหญ่ และโปรงขาว
               (Ceriops decanadra) โดยพบว่าโกงกางใบเล็กเป็นไม้เด่นในแปลงส ารวจนี้ คือมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 182.015

               และค่าดัชนีความส าคัญของไม้ต้นในล าดับรองลงมาเท่ากับ 41.851  50.22  12.598 7.692  และ 5.621  ตามล าดับ
               และมีค่าดัชนีความหลากหลายของพรรณไม้มีค่าเท่ากับ 0.93 ดังในตารางที่ 7-15 และ 7-17 จากการวางแปลงขนาด

               4  เมตร x  4  เมตรเพื่อดูค่าความหนาแน่นของไม้หนุ่ม (sapling) และแปลงขนาด 1  เมตร x  1  เมตร เพื่อดูความ
               หนาแน่นของกล้าไม้ (seedling) รวมจ านวนขนาดละ 16 แปลงส ารวจ พบมีกล้าไม้จ านวน 4 ชนิด ชนิดที่มีค่าความ

               หนาแน่นมากที่สุด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก เหงือกปลาหมอ ตะบูนด า และตะบูนขาว มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.625
               0.500 0.063 และ 0.063 ตามล าดับ ในส่วนของไม้หนุ่มในแปลงส ารวจพบจ านวน 5 ชนิด ได้แก่ โปรงขาว

               โกงกางใบเล็ก ถั่วขาว ตะบูนด า และแสมด า มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.438 0.125  0.125 0.063  และ 0.063
               ตามล าดับ ดังในตารางที่ 7-16

                                     ภาพรวมของค่าความหลากหลายทางชีวภาพกล่าวได้ว่า แปลงที่ 2 ป่าชายเลนในพื้นที่
               สถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 26 มีค่าสูงที่สุด (1.53) ซึ่งเป็นไปตามความเข้มข้นของการป้องกันซึ่งอยู่ใน

               การดูแลของหน่วยงานภาครัฐ รองลงมาได้แก่ แปลงที่ 1 ป่าชายเลนฟื้นฟูตรงข้ามเขาขนาบน้ า (1.21) และน้อยที่สุด
               ได้แก่แปลงที่ 3 ป่าชายเลนตรงข้ามท่าเรือบ้านเกาะกลาง (0.93) ซึ่งน่าจะมีสาเหตุมาจากมีการใช้ประโยชน์ไม้
               จากชุมชนมากกว่าอีก 2 แปลง  และเมื่อน าทั้ง 3  แปลงตัวอย่างมาหาค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพพบว่า

               ค่าดัชนีความหลากหลายของพรรณไม้รวมมีค่าเท่ากับ 1.312 ดังตารางที่ 7-17


               ตารางที่ 7-11 ค่าดัชนีความส าคัญของไม้ต้น (tree) ของแปลงส ารวจสังคมพืชป่าชายเลนแปลงที่ 1
                            ชนิด                   RF             RD             RDo              IVI

               ตะบูนขาว                            32           45.3488        50.5619         127.9107
               โกงกางใบเล็ก                        30           35.4651        22.5171         87.9823

               ตะบูนด า                            26           13.9535        25.5145         65.4680
               แสมด า                               6           2.3256          1.0536          9.3792

               โปรขาว                               4           1.7442          0.1488          5.8930
               ตาตุ่มทะเล                           2           1.1628          0.2041          3.3668

                                                   100            100            100             300









                                                           7-32
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210