Page 201 -
P. 201
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ความถี่ของพันธุ์ไม้ชนิด A
ความถี่สัมพัทธ์ของพันธุ์ไม้ชนิด A (RF) = X 100
ความถี่รวมของพันธุ์ไม้ทุกชนิด
ความเด่นของพันธุ์ไม้ชนิด A
ความเด่นสัมพัทธ์ของพันธุ์ไม้ชนิด A (RDo) = X 100
ความเด่นรวมของพันธุ์ไม้ทุกขนิด
ค่าดัชนีความส าคัญของพันธุ์ไม้ชนิด A (IVI) = RD + RF + RDo
4.2) วิเคราะห์ค่าความหนาแน่นในแปลงศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ รวมถึงกล้าไม้
และลูกไม้ในแปลงศึกษาชั่วคราว ในพื้นที่ศึกษา โดยใช้สูตรตาม (4.1)
4.3) วิเคราะห์ค่าดัชนีความหลากหลาย (Diversity Index) เป็นค่าดัชนีที่มีวัตถุประสงค์
เพื่อให้ทราบว่าความหลากหลายในพื้นที่หนึ่งๆ หรือในระบบนิเวศหนึ่งๆ มีมากน้อยเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับแหล่ง
อื่นๆ โดยรวมค่าความหลากชนิด และค่าความสม่ าเสมอมาเปรียบเทียบค่าความหลากหลาย โดยใช้สมการของ
Shannon – Wiener (Shannon and Wiener, 1964) ดังนี้
s
H’ = - ∑ (Pi ln Pi)
i=1
H’ = ค่าดัชนีความหลากหลายของพื้นที่
Pi = สัดส่วนของจ านวนชนิดพันธุ์ต่อผลรวม
ของจ านวนทั้งหมดทุกชนิดพันธุ์ในสังคม (N)
S = จ านวนชนิดพันธุ์ทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา
ผลการศึกษา
การศึกษาสังคมพืชป่าชายเลนในภาพรวม ในแปลงส ารวจส ารวจสังคมพืชป่าชายเลน
บริเวณป่าชายเลนเขาขนาบน้ าและพื้นที่โดยรอบในพื้นที่จังหวัดกระบี่ พบพรรณไม้ในพื้นที่ทั้งหมด 19 ชนิด
จาก 9 วงศ์ โดยพบมีสถานภาพเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. จ านวน 10 ชนิด ได้แก่ ตะบูนขาว (Xylocarpus
granatum) ตะบูนด า (Xylocarpus moluccensis) ตะบัน (Xylocarpus rumphii) ถั่วขาว (Bruguiera
cylindrica) พังกาหัวสุมดอกแดง (Bruguiera gymnorrhiza) โปรงขาว (Ceriops decanadra) โปรงแดง
(Ceriops tagal) โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) และ
หงอนไก่ทะเล (Heritiera littora) และพบมีสถานภาพระดับนานาชาติตามการจัดของสหภาพนานาชาติ เพื่อการ
อนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) พบมี
พรรณไม้ที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ (Near Threatened: NT) จ านวน 2 ชนิด ได้แก่ เป้งทะเล
(Phoenix paludosa) และน้ านอง (Brownlowia tersa) และพบมีสถานภาพมีความเป็นกังวลน้อย
7-28