Page 197 -
P. 197

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                               ขั้นตอนที่ 2:  การเตรียมอุปกรณ์ ประกอบด้วย

                                   • แผนที่

                                   • เครื่องจีพีเอส
                                   • เทป/เชือกวัดระยะ

                                   • เทปวัดความโตของต้นไม้

                                   • แบบบันทึกข้อมูล
                                   • กล้องถ่ายรูป

                                   • หนังสือคู่มือจ าแนกพันธุ์ไม้และถุงส าหรับเก็บพรรณไม้


                               ขั้นตอนที่ 3:  การก าหนดวิธีการ มีรายละเอียดดังนี้

                                     3.1) การวางแปลงศึกษาสังคมพืชป่าชายเลน

                                         (1) วางแปลงขนาด 80 เมตร x 20 เมตร (ดังภาพที่ 7-17 และ 7-18) แบ่งพื้นที่เป็น
               แปลงย่อยขนาด 10 เมตร x 10 เมตร จ านวน 16 แปลง ในแปลงขนาด 10 เมตร x 10 เมตร ท าการส ารวจชนิดและ
               วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกที่ระดับความสูง 1.30 เมตร (Diameter at Breast Height, DBH) ส าหรับไม้ต้น

               (tree) ที่มี DBH ≥ 4.5 เซนติเมตร ขึ้นไป
                                         (2) วางแปลงขนาด 4 เมตร x 4 เมตร ซ้อนลงไปที่มุมล่างด้านซ้ายของแต่ละแปลง

               ขนาด 10  เมตร x  10  เมตร ท าการส ารวจชนิดและนับจ านวนไม้หนุ่ม (sapling)  ซึ่งในที่นี้หมายถึง ต้นไม้ที่มีขนาด
               DBH ≤ 4.5 เซนติเมตร และมีความสูง ≥ 1.30 เมตร ขึ้นไป

                                         (3) วางแปลงขนาด 1 เมตร x 1 เมตร ซ้อนลงบนมุมแปลงขนาด 4 เมตร x 4 เมตร
               เพื่อท าการส ารวจกล้าไม้ (seedling) ซึ่งในที่นี้หมายถึง กล้าของไม้ต้น ที่มีความสูงน้อยกว่า 1.30 เมตร

               และนับเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของไม้พื้นล่างทุกชนิดทุกวิสัย (habit) โดยในแปลงศึกษาไม้หนุ่มและกล้าไม้ จะท าการ
               พิจารณาเฉพาะค่าดัชนีความส าคัญโดยใช้ผลรวมของค่าความหน่าแน่นสัมพัทธ์ และความถี่สัมพัทธ์เป็นหลัก เพื่อเป็น
               ข้อมูลในการพิจารณาถึงสถานภาพในการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ (natural  regeneration)  ของพรรณไม้ ในแปลง

               ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของสังคมพืชที่ศึกษา
























                                                           7-24
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202