Page 202 -
P. 202

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


               (least concern: LC) จ านวน 13 ชนิด ได้แก่ แสมขาว (Avicennia alba) แสมทะเล (Avicennia marina) แสมด า
               (Avicennia officinalis) ตาตุ่มทะเล (Excoecaria agallocha) ตะบูนขาว ตะบูนด า จาก (Nypa fruticans)

               ปรงหนู (Acrostichum speciosum) ถั่วขาว โปรงแดง โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ ล าพู (Sonneratia
               caseolaris)  (ตารางที่ 7-8) ไม้ต้นมีค่าดัชนีความส าคัญในพื้นที่จ านวน 9 ชนิดจากมากไปน้อยได้แก่ โกงกางใบเล็ก

               ตะบูนขาว  ตะบูนด า แสมด า (Avicennia officinalis) ตาตุ่มทะเล (Excoecaria agallocha) พังกาหัวสุมดอกแดง
               โกงกางใบใหญ่ โปรงขาว และล าพู (Sonneratia caseolaris) มีค่าดัชนีความส าคัญดังนี้ 119.08  82.56  64.17
               14.28 4.62 4.59 4.38 3.76 และ 2.57 ตามล าดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายของพรรณไม้ มีค่าเท่ากับ 1.312

               ดังในตารางที่ 7-9

                                     จากการวางแปลงขนาด 4 เมตร x 4 เมตร เพื่อดูค่าความหนาแน่นของไม้หนุ่ม (sapling)

               และแปลงขนาด 1 เมตร x 1 เมตร เพื่อดูความหนาแน่นของกล้าไม้ (seedling) รวมจ านวนขนาดละ 48 แปลงส ารวจ
               ทั้ง 3  พื้นที่  พบมีกล้าไม้จ านวน 9  ชนิด ได้แก่ เหงือกปลาหมอ ซึ่งมีค่าความหนาแน่นมากที่สุดเท่ากับ 0.438  ต้น/

               1 แปลงส ารวจ โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata) โปรงแดง (Ceriops tagal) น้ านอง (Brownlowia tersa)
               เป้งทะเล (Phoenix paludosa) ตะบูนด า (Xylocarpus moluccensis) ตะบัน (Xylocarpus rumphii) ตะบูนขาว
               (Xylocarpus granatum) และปรงหนู (Acrostichum speciosum) ตามล าดับ โดยพบมีค่าความหนาแน่นของ

               พรรณไม้แต่ละชนิดดังในตารางที่ 7-10   ในส่วนของไม้หนุ่มพบจ านวน 9  ชนิดที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในพื้นที่
               ได้แก่ ตะบูนขาว มีค่าเท่ากับ 0.146 ต้น/1 แปลงส ารวจ โดยพบ โปรงขาว แสมขาว (Avicennia alba) โกงกางใบ

               เล็ก ถั่วขาว (Bruguiera cylindrica) แสมด า (Avicennia officinalis) หงอนไก่ทะเล (Heritiera littora) ตะบูนด า
               และน้ านอง ตามล าดับความหนาแน่นของแต่ละชนิดที่ส ารวจพบในพื้นที่


               ตารางที่ 7-8  รายชื่อชนิดพันธุ์และสถานภาพการอนุรักษ์ของพรรณไม้ที่ส ารวจพบในบริเวณพื้นที่ศึกษา


                                                                                          พรก. ไม้หวงห้าม
                     วงศ์           ชื่อสามัญ        ชื่อพฤกษศาสตร์       IUCN 2013
                                                                                               2530

               Avicenniaceae    แสมขาว          Avicennia alba          Least Concern

                                แสมทะเล         Avicennia marina        Least Concern

                                แสมด า          Avicennia officinalis   Least Concern

               Euphorbiaceae  ตาตุ่มทะเล        Excoecaria agallocha    Least Concern

               Meliaceae        ตะบูนขาว        Xylocarpus granatum     Least Concern  ไม้หวงห้ามประเภท ก.
                                                Xylocarpus

                                ตะบูนด า        moluccensis             Least Concern  ไม้หวงห้ามประเภท ก.

                                ตะบัน           Xylocarpus rumphii                      ไม้หวงห้ามประเภท ก.

               palmae           จาก             Nypa fruticans          Least Concern



                                                           7-29
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207