Page 204 -
P. 204

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


               ตารางที่ 7-10  ความหนาแน่นของกล้าไม้ (seedling) และไม้หนุ่ม (sapling) และชนิดที่พบ โดยรวมของพื้นที่ศึกษา
                                   กล้าไม้                                       ไม้หนุ่ม

                      ชนิด        จ านวนต้น    ความหนาแน่น         ชนิด         จ านวนต้น   ความหนาแน่น
               เหงือกปลาหมอ          21           0.438       ตะบูนขาว             7            0.146

               โกงกางใบเล็ก          19           0.396       โปรงขาว              7            0.146
               โปรงแดง               13           0.271       แสมขาว               5            0.104

               น้ านอง                6           0.125       โกงกางใบเล็ก         4            0.083
               เป้งทะเล               6           0.125       ถั่วขาว              2            0.042

               ตะบูนด า               3           0.063       แสมด า               2            0.042
               ตะบัน                  1           0.021       หงอนไก่ทะเล          2            0.042

               ตะบูนขาว               1           0.021       ตะบูนด า             1            0.021

               ปรงหนู                 1           0.021       น้ านอง              1            0.021

                                     การศึกษาสังคมพืชป่าชายเลนแปลงส ารวจแปลงที่ 1 ในแปลงส ารวจนี้พบไม้ต้นทั้งหมด

               6  ชนิด ได้แก่ ตะบูนขาว (Xylocarpus  granatum) โกงกางใบเล็ก ตะบูนด า แสมด า (Avicennia  officinalis)
               โปรงขาว (Ceriops  decanadra) และตาตุ่มทะเล (Excoecaria  agallocha) โดยพบว่าตะบูนขาวเป็นไม้เด่นใน

               แปลงส ารวจนี้ คือ มีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 127.91 และค่าดัชนีความส าคัญของไม้ต้นในล าดับรองลงมาเท่ากับ
               87.98 65.47 9.38 5.89 และ 3.36 ตามล าดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายของพรรณไม้มีค่าเท่ากับ 1.21

               ดังในตารางที่ 7-11 และ 7-17  และจากการวางแปลงขนาด 4 เมตร x 4 เมตร เพื่อดูค่าความหนาแน่นของไม้หนุ่ม
               (sapling) และแปลงขนาด 1 เมตร x 1 เมตร เพื่อดูความหนาแน่นของกล้าไม้ (seedling) รวมจ านวนขนาดละ 16

               แปลงส ารวจ พบมีกล้าไม้จ านวน 3 ชนิด ชนิดที่มีค่าความหนาแน่นมากที่สุด ได้แก่ เหงือกปลาหมอ โกงกางใบเล็ก
               ตะบูนด า มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.81 0.313 และ 0.063 ตามล าดับ ในส่วนของไม้หนุ่มในแปลงส ารวจพบจ านวน
               4 ชนิด ได้แก่ แสมขาว ตะบูนขาว โกงกางใบเล็ก และหงอนไก่ทะเล มีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 0.313 0.188 0.125

               และ 0.125 ตามล าดับ ดังในตารางที่ 7-12


                                     การศึกษาสังคมพืชป่าชายเลนแปลงส ารวจแปลงที่ 2 ในแปลงส ารวจนี้พบไม้ต้นทั้งหมด
               8 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก ตะบูนขาว ตะบูนด า แสมด า พังกาหัวสุม (Bruguiera gymnorrhiza) ตาตุ่มทะเล ล าพู

               (Sonneratia caseolaris) และ โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora mucronata) โดยพบว่าโกงกางใบเล็กเป็นไม้เด่นใน
               แปลงส ารวจนี้ คือมีค่าดัชนีความส าคัญเท่ากับ 86.1685 และค่าดัชนีความส าคัญของไม้ต้นในล าดับรองลงมาเท่ากับ

               71.095 76.727 22.738 17.235 11.0144 8.452 และ 6.568 ตามล าดับ และมีค่าดัชนีความหลากหลายของพรรณ
               ไม้มีค่าเท่ากับ 1.53  ดังในตารางที่ 7-13 และ 7-17  จากการวางแปลงขนาด 4  เมตร x  4  เมตร เพื่อดูค่าความ

               หนาแน่นของไม้หนุ่ม (sapling) และแปลงขนาด 1  เมตร x  1  เมตรเพื่อดูความหนาแน่นของกล้าไม้ (seedling)
               รวมจ านวนขนาดละ 16 แปลงส ารวจ พบมีกล้าไม้จ านวน 7 ชนิด ชนิดที่มีค่าความหนาแน่นมากที่สุด ได้แก่ โปรงแดง

               (Ceriops  tagal) ล าดับรองลงมาคือ เป้งทะเล (Phoenix paludosa) น้ านอง โกงกางใบเล็ก ตะบูนด า ปรงหนู


                                                           7-31
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209