Page 208 -
P. 208
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
การประเมินผลส าเร็จของเขื่อนไม้ไผ่ต่อการตั้งตัวของกล้าไม้และไม้รุ่น
จากการวางแปลงศึกษากล้าไม้ขนาด 1x1 ม.แสดงให้เห็นว่าการงอกของเมล็ดไม้
และการตั้งตัวของกล้าไม้หน้าเขื่อนมีปริมาณที่น้อยกว่าหลังเขื่อนอย่างเห็นได้ชัด โดยที่หน้าเขื่อนมีความหนาแน่นเฉลี่ย
0.475 ต้น/ตร.ม. ในขณะที่หลังเขื่อนมีความหนาแน่น 1.5 ต้น/ตร.ม. โดยที่ระยะ 5-15 เมตรมีค่าความหนาแน่น
ค่าสูงสุด (3.5 ต้น/ตร.ม.) ชนิดพันธุ์ของเมล็ดไม้หรือกล้าไม้ที่ตั้งตัวได้หน้าเขื่อนจะมีเพียงชนิดเดียวคือแสมขาว
ในขณะที่หลังเขื่อนจะพบ 2 ชนิดได้แก่แสมขาวและแสมทะเล ส าหรับการส ารวจไม้รุ่นในแปลง 4x4 ตร.ม. ไม่พบไม้รุ่น
ที่หน้าเขื่อนแต่อย่างใด แต่หลังเขื่อนพบไม้รุ่นเฉลี่ย 1.31 ต้นต่อ 16 ตร.ม ส่วนข้อมูลไม้ต้นไม่ได้เป็นผลมาจาก
เขื่อนไม้ไผ่ แต่แสดงให้เห็นถึงปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารสะสม และจะมีมากบริเวณใกล้ฝั่งมากขึ้นตามล าดับ
แต่ไม่พบบริเวณหน้าเขื่อนแต่อย่างใด (ภาพที่ 7-21 และตารางที่ 7-18)
6
ไม้ต้น
5
ไม้รุ่น
4 กล้าไม้
3
2
1
0
(-35) - (-25) (- 15) - (-5) 0 (5) - 15 25 - 35 45 - 55 65 - 75
ภาพที่ 7-21 การตั้งตัวของกล้าไม้ ไม้รุ่น และไม้ยืนต้นหน้าเขื่อน (-35 ถึง -5 เมตร จากแนวเขื่อน (0))
และหลังเขื่อน (5 ถึง 75 เมตร)
7-35