Page 212 -
P. 212

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                                ขั้นตอนที่ 4: การวิเคราะห์ข้อมูล

                                      1) รวบรวมบัญชีรายชื่อและค านวณระดับความชุกชุม (abundance) ของนกแต่ละ
               ชนิดที่พบ เพื่อบอกถึงชนิดนกที่พบได้บ่อยในพื้นที่ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการหาค่าความถี่การปรากฎ จากสูตร


                         ค่าความถี่การปรากฎ  = จ านวนตัวที่พบแต่ละชนิด / ระยะทางส ารวจทั้งหมด (กิโลเมตร)

                       จากนั้นแบ่งระดับความชุกชุมของนกในพื้นที่ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้


                   ความถี่ของการปรากฎมากกว่า 1         ตัว/ระยะทาง 1 กิโลเมตร   ระดับความชุกชุมพบบ่อย

                   ความถี่ของการปรากฎ           1 – 0.3 ตัว/ระยะทาง 1 กิโลเมตร  ระดับความชุกชุมพบปานกลาง
                   ความถี่ของการปรากฎน้อยกว่า 0.3      ตัว/ระยะทาง 1 กิโลเมตร  ระดับความชุกชุมพบน้อย


                                      2) ค านวณค่าดัชนีความหลากหลาย  (Diversity  Index)  เป็นค่าดัชนีที่มีวัตถุประสงค์

               เพื่อให้ทราบว่าความหลากหลายในพื้นที่หนึ่งๆ หรือในระบบนิเวศหนึ่งๆ มีมากน้อยเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับ
               แหล่งอื่นๆ โดยรวมค่าความหลากชนิดและค่าความสม่ าเสมอ มาเปรียบเทียบค่าความหลากหลาย โดยใช้สมการของ
               Shannon – Wiener (Shannon and Wiener, 1964) ดังนี้


                                              s
                                  H’   =    - ∑ (Pi ln Pi)

                                             i=1
                                  H’   =    ค่าดัชนีความหลากหลายของพื้นที่

                                  Pi   =    สัดส่วนของจ านวนชนิดพันธุ์ต่อผลรวมของจ านวนทั้งหมดทุกชนิดพันธุ์ในสังคม (N)
                                    S      =   จ านวนชนิดพันธุ์ทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา


                                      3)  ตรวจสอบสถานภาพด้านการอนุรักษ์ของสัตว์ทุกชนิดที่ส ารวจพบ โดยสถานภาพ
               ภาพในประเทศใช้ตามส านักงานนโยบายและแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และสถานภาพ

               สัตว์ป่าในระดับนานาชาติใช้ตามบัญชีสถานภาพตามการจัดของสหภาพนานาชาติ เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ

               และทรัพยากรธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) โดยมีการแบ่งการจัด
               สถานภาพการอนุรักษ์ไว้ ดังนี้
                                          EX   =   Extinct (สูญพันธุ์ ไม่พบในระยะเวลา 50 ปี ทีผ่านมา)

                                          EW  =   Extinct in Wild (สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ)
                                          CR   =   Critically Endangered (ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง)

                                          EN   =   Endangered (ใกล้สูญพันธุ์)
                                          VU  =   Vulnerable (มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์)

                                          LR/CD =  Lower Risk /Conservation Dependent (เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
                                                        ขึ้นอยู่กับมาตรการในการอนุรักษ์)



                                                           7-39
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217