Page 172 -
P. 172
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 6-4 (ต่อ)
ปัจจัยชี้วัด ค่าถ่วงน้ าหนัก ค าอธิบาย
31. การใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่ง 2 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญน้อย (2) เนื่องจากมีแหล่ง
ท่องเที่ยวเรียนรู้ ธรรมชาติภูเขาหลายแห่งไม่ได้เปิดเป็นแหล่งใช้ประโยชน์
ใดๆรวมถึงเรื่องการท่องเที่ยวเรียนรู้ ซึ่งแหล่งภูเขาควรเน้น
คุณค่าความส าคัญด้านการบริการสิ่งแวดล้อมในการรักษา
สมดุลธรรมชาติ เช่น การเป็นแหล่งต้นน้ าล าธารและแหล่ง
อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่า โดยควรให้
ความส าคัญด้านการท่องเที่ยวในระดับรองลงมา เนื่องจาก
การท่องเที่ยวเองหากจัดการไม่เหมาะสมก็อาจเกิดปัญหา
ผลกระทบตามมา
32. การดูแลบ ารุงรักษาสิ่งอ านวยความ 1 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญน้อยที่สุด (1) เมื่อเปรียบเทียบ
สะดวก/สิ่งก่อสร้างในพื้นที่ กับปัจจัยอื่นๆ เนื่องจากเป็นปัจจัยที่สามารถส่งผลต่อความ
เสื่อมโทรมแก่ระบบนิเวศนิเวศภูเขาแบบไม่ถาวร สามารถ
แก้ไขได้โดยง่ายด้วยการปรับระบบการจัดการ เช่น การ
จัดท าแผนการบ ารุงรักษา ตั้งงบประมาณและบุคลากร
รับผิดชอบชัดเจน มีระบบติดตามตรวจสอบ
6.7 วิธีการและแนวปฏิบัติในการประเมินผลการบริหารจัดการแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา
การประเมินผลการบริหารจัดการแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้
ภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สาธารณชน และท้องถิ่น ได้รับรู้รับทราบสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของแหล่งภูเขาในพื้นที่
ของตน การรับรู้ รับทราบ และตระหนักถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมของแหล่งภูเขา สภาวะของสิ่งแวดล้อมที่
เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ/หรือ จากกิจกรรม/โครงการพัฒนาต่างๆของ
มนุษย์ก็ตาม จะสามารถให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ ตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่นถึงระดับประเทศ
สามารถป้องกันแก้ไขและจัดการบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น เพื่อให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติประเภท
ภูเขายังอยู่ในระดับดี เอื้อประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่มนุษย์ได้อย่างยั่งยืน รวมไปถึงสามารถก าหนด
มาตรการหรือกิจกรรมต่างๆในการตั้งรับและปรับตัวให้สอดรับกับสภาพที่เกิดขึ้นได้ ดังนั้น เกณฑ์การรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาต้องมีการน าไปเผยแพร่ให้แก่ผู้รับผิดชอบแหล่งภูเขาทุกแห่ง เพื่อให้มี
การติดตามประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งภูเขาอย่างต่อเนื่องในระยะยาวต่อไป การประเมินและติดตาม
6-40