Page 170 -
P. 170
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 6-4 (ต่อ)
ปัจจัยชี้วัด ค่าถ่วงน้ าหนัก ค าอธิบาย
21. ระยะห่างจากโรงงานอุตสาหกรรม 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจาก
ขนาดใหญ่/เมืองจากเชิงเขา ระยะห่างจากเมืองหรือโรงงานอุตสาหกรรมอาจแสดงให้
เห็นถึงแนวโน้มหรือโอกาสที่โรงงานอุตสาหกรรมหรือเมือง
นั้นอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งภูเขา
แต่ก็ไม่เสมอไป หากมีระบบการจัดการของโรงงาน/เมืองที่ดี
22. ด้านการแบ่งเขตการใช้ที่ดิน 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
(zoning) มาตรการจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน
สามารถจัดการให้เกิดขึ้นได้ หากมีผู้ให้ความรู้ และพัฒนา
ศักยภาพของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
23. ด้านขีดความสามารถทางกายภาพ 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
มาตรการจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน
สามารถจัดการให้เกิดขึ้นได้ หากมีผู้ให้ความรู้ และพัฒนา
ศักยภาพของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
24. ด้านสุนทรียภาพและความงาม 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
มาตรการจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดสุนทรียภาพ สามารถ
จัดการให้เกิดขึ้นได้ หากมีผู้ให้ความรู้ และพัฒนาศักยภาพ
ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
25. ความเหมาะสมของขนาดอาคาร 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
สิ่งก่อสร้าง รูปทรงการออกแบบวัสดุ มาตรการจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืนและ
และการใช้สี ความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม สามารถจัดการให้เกิดขึ้น
ได้ หากมีผู้ให้ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของหน่วยงานที่
รับผิดชอบ
26. การมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า 3 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
ของชุมชนที่อาศัยบนภูเขา มาตรการจัดการพื้นที่เพื่อให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน
อนุรักษ์ดินและน้ า สามารถจัดการให้เกิดขึ้นได้ มีแนวทาง
เป็นตัวอย่างหลายแห่ง หากมีผู้ให้ความรู้ ถ่ายทอดองค์
ความรู้ จัดท าแผนงานส่งเสริม กระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์ดินและน้ าก็จะส าเร็จได้
6-38