Page 165 -
P. 165

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                  ตารางที่ 6-4   ระดับค่าถ่วงน้ าหนักความส าคัญของแต่ละปัจจัยชี้วัดเพื่อใช้ในการประเมินเกณฑ์การรักษาคุณภาพ

                               สิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา และเหตุผลของการให้ค่าคะแนน


                             ปัจจัยชี้วัด        ค่าถ่วงน้ าหนัก                ค าอธิบาย


                 1.  ปริมาณการชะล้างพังทลายดิน        5       อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูงมาก (5) เนื่องจากชี้วัดถึง

                                                              คุณภาพของระบบนิเวศภูเขา ในด้านการเป็นแหล่งอนุรักษ์ดิน
                                                              และต้นน้ าล าธาร การชะล้างพังทะลายของดินยังส่งผลต่อ

                                                              คุณภาพขององค์ประกอบของระบบนิเวศภูเขาอื่นๆ ได้แก่ น้ า

                                                              และพืชพันธุ์ นอกจากนั้น ยังมีผลสืบเนื่องต่อผลผลิตของ
                                                              ระบบนิเวศภูเขา เช่น ปัญหาที่มีต่อระบบนิเวศด้านล่าง  ได้แก่

                                                              คุณภาพน้ า การตื้นเขินของแม่น้ าล าธารและอ่างเก็บน้ า เป็น

                                                              ต้น
                 2.  คุณภาพน้ า (คิดค่าเฉลี่ยรวมปัจจัยชี้วัด  5   อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูงมาก (5) เนื่องจากชี้วัดถึง

                 ย่อย 6 ตัว เพื่อหาค่าเฉลี่ย แล้วน ามาถ่วง    คุณภาพของระบบนิเวศภูเขาซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ าล าธาร ในด้าน

                 น้ าหนัก                                     การเป็นแหล่งอนุรักษ์น้ า ให้มีน้ าที่มีคุณภาพดี ส าหรับใช้
                    2.1) ความขุ่น                             ประโยชน์ในพื้นที่ด้านล่าง ผลกระทบต่อคุณภาพน้ ายังมีผลต่อ

                    2.2) การเป็นกรด-ด่าง                      องค์ประกอบของระบบนิเวศอื่นๆที่ส าคัญ ได้แก่ พืชและสัตว์

                    2.3) BOD                                  ป่าตลอดจนผลผลิตของระบบนิเวศภูเขา เช่น ปัญหาด้าน
                    2.4) DO                                   สุขภาพ และมลภาวะต่างๆ

                    2.5) Total coliform bacteria

                    2.6) Fecal coliform bacteria

                 3. สัดส่วนของน้ าฝนที่กลายเป็นปริมาณ  5      อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูงมาก (5) เนื่องจากชี้วัดถึง

                   น้ าท่า (48% ส าหรับลุ่มน้ าที่ปกคลุม      คุณภาพของระบบนิเวศภูเขาที่เป็นกิจกรรม/หน้าที่
                   ด้วยป่าดิบเขา และ 20 % ส าหรับลุ่ม         (function)  หลักของระบบนิเวศภูเขา คือเป็นแหล่งต้นน้ าล า
                   น้ าที่ปกคลุมด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ        ธาร ถ้าปริมาณน้ าฝนกลายเป็นปริมาณน้ าท่าได้ยิ่งมากเท่าใด
                   เขาและพื้นที่เกษตร
                                                              แสดงว่า ระบบนิเวศภูเขานั้นมีคุณภาพสูงในการเป็นแหล่งต้น

                                                              น้ าล าธาร และส่งผลถึงเศรษฐกิจสังคมของชุมชนที่อยู่ด้านล่าง











                                                             6-33
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170