Page 169 -
P. 169
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 6-4 (ต่อ)
ปัจจัยชี้วัด ค่าถ่วงน้ าหนัก ค าอธิบาย
17. สุขอนามัย 5 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูงมาก (5) เนื่องจากเป็นหนึ่ง
ในปัจจัยชี้วัดถึงคุณภาพชีวิตของมนุษย์ มีผลต่อชีวิตและ
ความเป็นอยู่ และมีผลกระทบต่อระบบอื่นๆตามมา
18. การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนใน 5 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูงมาก (5) เป็นปัจจัยชีวัดด้าน
พื้นที่ สังคมถึงคุณภาพชีวิตของมนุษย์ มีผลต่อชีวิตและความ
เป็นอยู่ เอกลักษณ์ คุณค่าของความเป็นชุมชนท้องถิ่นนั้น
และผลกระทบทางสังคมตามมา
19. การเก็บหาของป่า ล่าสัตว์ป่า ตัดไม้ 4 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูง (4) เป็นผลกระทบจาก
ในพื้นที่สงวน มนุษย์ที่มีผลเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของระบบนิเวศ
โดยเฉพาะสัตว์ป่าและพืชพันธุ์ที่มีคุณค่าทั้งทางเศรษฐกิจ
เช่น ไม้หอม ไม้พะยุง และคุณค่าด้านสุนทรียภาพ เป็น
ปัจจัยที่สามารถส่งผลต่อความเสื่อมโทรมอย่างถาวรแก่
ระบบนิเวศภูเขา หากไม่มีการจัดการแก้ไขปัญหา แต่
ผลกระทบนั้นเกิดขึ้นไม่รุนแรงและรวดเร็วในวงกว้างเท่ากับ
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินป่าไม้ และหรือการบุกรุกพื้นที่
20. ศักยภาพในการตั้งรับปรับตัวของ 4 อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญสูง (4) เป็นปัจจัยที่มี
ชุมชน ท้องถิ่นต่อผลกระทบจากการ ความส าคัญมาก หากไม่มีการจัดการสร้างเสริมให้ชุมชน
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ปัจจัย ท้องถิ่นมีศักยภาพในการตั้งรับปรับตัว จะมีผลต่อการ
นี้ใช้ประเมินส าหรับแหล่งภูเขาที่ ด ารงชีวิต และคุณภาพชีวิตของมนุษย์ในแหล่งธรรมชาติ
เกิดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ภูเขาหรือที่อาศัยด้านล่าง แต่เป็นปัจจัยที่สามารถสร้างหรือ
สภาพภูมิอากาศเท่านั้น) พัฒนาให้มีขึ้นได้ หากมีความตระหนัก มีองค์ความรู้ และ
ความร่วมมือ ปัจจัยนี้จึงมีความส าคัญน้อยกว่ากลุ่มของ
ปัจจัยที่มีความส าคัญในระดับ 5 เพราะสามารถจัดการ
พัฒนาให้เกิดศักยภาพขึ้นได้ไม่ยากนัก แม้จะต้องใช้เวลาอยู่
บ้าง
6-37