Page 171 -
P. 171

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                  ตารางที่ 6-4   (ต่อ)


                             ปัจจัยชี้วัด        ค่าถ่วงน้ าหนัก                ค าอธิบาย


                  27.   การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน   3      อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) แม้จะเป็นปัจจัย

                         การอนุรักษ์จัดการแหล่งภูเขา          ที่ส าคัญแต่ก็สามารถปรับปรุงให้เกิดการมีส่วนร่วมได้ไม่ยาก

                                                              นักในปัจจุบัน เพราะรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐ
                                                              สนับสนุนอย่างชัดเจน สามารถจัดการให้เกิดขึ้นได้  มี

                                                              แนวทางเป็นตัวอย่างหลายแห่ง หากมีผู้ให้ความรู้ ถ่ายทอด

                                                              องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ การสร้างความตระหนัก และ
                                                              กระตุ้นเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง

                  28.   การมีและน าไปปฎิบัติแผนงาน    3       อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) เนื่องจากเป็น
                      โครงการ กิจกรรมต่างๆในการ               มาตรการเกี่ยวกับการวางแผน ซึ่งสามารถกระตุ้นให้

                      อนุรักษ์แหล่งภูเขา                      หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมกันด าเนินการได้ หาก

                                                              มีผู้ให้ความรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้  สร้างความตระหนักถึง

                                                              คุณค่าความส าคัญและปัญหาผลกระทบของแหล่งธรรมชาติ
                                                              ภูเขา น าไปสู่การจัดท าแผนงานอย่างมีส่วนร่วม และมี

                                                              แรงจูงใจในการน าแผนงานไปปฏิบัติ

                  29.  งานวิจัย/ผลการการศึกษาที่      3       อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญปานกลาง (3) งานวิจัยเป็น
                  เกี่ยวข้อง                                  ข้อมูลและเป็นองค์ความรู้ที่จะขับเคลื่อนให้เกิดการวาง
                        กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ        แผนการปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทันต่อเหตุการณ์
                        ของแหล่งธรรมชาติภูเขา
                                                              และข้อมูลจากงานวิจัยท าให้เกิดความตระหนักและสามารถ
                                                              ใช้ในการตัดสินใจวางแผนตั้งรับปรับตัวของชุมชนที่ได้รับ

                                                              ผลกระทบ อย่างไรก็ดี การตั้งรับปรับตัวอาจเกิดขึ้นจากการ
                                                              สังเกตถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ

                                                              วางแผนตั้งรับปรับตัวได้เช่นกัน

                  30.  จ านวนปริมาณขยะตกค้างเฉลี่ย                2   อยู่ในกลุ่มระดับความส าคัญน้อย (2) เป็นปัญหาผลกระทบ
                         ในแหล่ง (บนบก)                       สิ่งแวดล้อมที่สามารถจัดการได้ไม่ยากนัก หากมีการกระตุ้น

                                                              ความร่วมมือ ใช้มาตรการกฎระเบียบที่เคร่งครัด การ

                                                              รณรงค์คัดแยกขยะ การจัดการให้ขยะเกิดมูลค่า สร้าง
                                                              จิตส านึก เป็นต้น  ปัญหาขยะในแหล่งภูเขาส่วนใหญ่มีความ

                                                              รุนแรงน้อยกว่าปัญหาขยะบนเกาะ





                                                             6-39
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176