Page 293 -
P. 293

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      3-25





                                2) พื้นที่ที่จะประกาศเปนอุทยานแหงชาติจะตองประกอบไปดวยทรัพยากรธรรมชาติที่
                  อุดมสมบูรณ เชน ปาไม ที่นาสนใจ มีจุดเดนที่เปนเอกลักษณหรือมีคุณคทางประวัติศาสตรหรือ
                  มนุษยศาสตร

                                3) พื้นที่ที่จะประกาศเปนอุทยานแหงชาติจะตองเหมาะสมตอการทองเที่ยว พักผอน พัก
                  แรมหรือเพื่อการศึกษาหาความรู ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดของพื้นที่และวัตถุประสงคในการประกาศจัดตั้ง

                                การประกาศจัดตั้งอุทยานแหงชาติมีขั้นตอนในการการดําเนินการ ดังนี้
                                1) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช แตงตั้งเจาหนาที่ไปดําเนินการสํารวจขอมูล

                  รายละเอียดพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการประกาศเปนอุทยานแหงชาติ เมื่อไดขอมูลแลวจะตองดําเนินการดังนี้
                                2) นําขอมูลจากการสํารวจเสนอคณะเจาหนาที่ของสํานักงานอุทยานแหงชาติ ซึ่ง
                  ประกอบดวยเจาหนาที่จากฝายตางๆ อยางนอย 3 ฝาย พิจารณาความเหมาะสมของขอมูลรายละเอียด
                  พื้นที่ที่จะประกาศเปนอุทยานแหงชาติ

                                3) เมื่อไดขอมูลจากการสํารวจแลวจะนําขอมูลดังกลาวเขาชี้แจงตอหนวยงานในพื้นที่ดังนี้
                                        3.1) สภาตําบลที่เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                                        3.2) คณะอนุกรรมการปองกันและปราบปรามการลักลอบทําลายทรัพยากรปาไม

                  ประจําจังหวัด หรือ หนวยงานราชการบริหารสวนภูมิภาค
                                        3.3) หนวยงานราชการบริหารสวนกลาง คือ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช
                                4) นําเสนอขอมูลการสํารวจตอคณะกรรมการอุทยานแหงชาติ โดยมีขอมูลในการนําเสนอดังนี้
                                        4.1) จัดทําแผนที่แสดงจุดพิกัดทางภูมิศาสตรที่สําคัญในแผนที่ โดยใชภาพถาย
                  ทางอากาศหรือแผนที่ปจจุบันอางอิง

                                        4.2) จัดทํารายละเอียดผลการสํารวจขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ ขอมูลซึ่งเปน
                  จุดเดนของการทองเที่ยวและจุดเดนทางธรรมชาติ พรอมภาพถายประกอบ
                                        4.3) จัดทําแผนการจัดการพื้นที่ที่ประกาศเปนอุทยานแหงชาติ โดยการจัดทํา

                  แผนการอนุรักษ การฟนฟู การใหบริการ การจัดการชุมชน การศึกษาวิจัย และอัตรากําลัง
                                        4.4) ขอมูลซึ่งผานการเห็นชอบในระดับพื้นที่แลว
                                        4.5) ขอมูลกรณีไมมีขอขัดแยงกับชุมชนในพื้นที่
                                5) เมื่อคณะกรรการอุทยานแหงชาติใหความเห็นชอบ ผูทําหนาที่หัวหนาอุทยานแหงชาติ

                  รวมกับสํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษทําการรังวัดแนวเขตพื้นที่เตรียมการประกาศอุทยานแหงชาติ
                                6) สํานักฟนฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษจัดทําแผนที่แนบทายรางพระราชกฤษฎีกากําหนด
                  บริเวณที่ดินเพื่อประกาศเปนอุทยานแหงชาติ
                                7) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เสนอรางพระราชกฤษฎีกากําหนดบริเวณ

                  ที่ดินเพื่อประกาศเปนอุทยานแหงชาติ พรอมบันทึกหลักการและเหตุผล คําชี้แจงรายละเอียดและแผนที่
                  แนบทายรางพระราชกฤษฎีกา ใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณานําเสนอ
                  คณะรัฐมนตรีตอไป
                                8) คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกา พรอมสงเรื่องใหสํานักงาน

                  คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณารางพระราชกฤษฎีกา
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298