Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             82








                  4.3  ปัญหาการอัดตัวของดิน

                         4.3.1  ปัญหาการอัดตัวของดินในอดีต

                         1)  ปัญหาจากแรงงานสัตว์

                         ประมาณช่วงระยะเวลาหนึ่งในสามของศตวรรษที่ 20    แรงงานสัตว์ถูกน ามาใช้ใน
                  แปลงเกษตรกรรมเกือบทั่วโลก    แม้กระทั่งทุกวันนี้    คาดว่ามีการใช้แรงงานสัตว์ประมาณ

                  400 ล้านตัว   โดยเฉพาะประเทศที่มีการพัฒนาน้อย    ทั้งนี้พิจารณาจากกลีบเท้าสัตว์กับพื้นที่

                  สัมผัสพื้นผิวดิน    ซึ่งขึ้นกับน ้าหนักตัวสัตว์และพื้นที่กลีบเท้าสัตว์   ตัวอย่างเช่น   แรงงาน
                  จากม้าหนึ่งตัวน ้าหนัก  750 kg    ขณะยืนมีค่าความดันสัมผัสดิน (ground  contact  pressure)

                  75 kPa    เมื่อเดินมีค่าความดันสัมผัสดิน 150 kPa    และแรงงานจากวัวหนึ่งตัวน ้าหนัก 530

                  kg   ขณะยืนมีค่าความดันสัมผัสดิน  130 kPa    เมื่อเดินมีค่าความดันสัมผัสดิน  250 kPa

                  การใช้แรงงานสัตว์โดยปกติแล้วจะใช้เพื่อฉุดลากไถ    ทั้งนี้มีการประมาณว่าแรงงานจากม้า
                  2 ตัว  ฉุดลากอุปกรณ์ไถ  1 อัน  เหยียบย ่าท าให้เกิดรอยเท้าจากกลีบสัตว์ประมาณ  750,000

                  รอย  ในพื้นที่ 1 hectare    การเกิดการอัดตัวของดินจากแรงงานสัตว์จะเป็นปัญหาการระบาย

                  น ้า    ขัดขวางการแทงทะลุของรากพืช    และในที่สุดก็ท าให้ผลผลิตพืชลดลง (Scott , 1908)


                         2)  ปัญหาจากเครื่องยนต์เครื่องจักรไอน ้า

                         การใช้เครื่องยนต์เครื่องจักรไอน ้าในแปลงเกษตรกรรมถูกน าเข้ามาในทวีปยุโรป
                  และอเมริกาเหนือในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19   ในเวลานั้นเครื่องจักรกลที่ใช้มีค่าอัตรา

                  ส่วนมวลต่อก าลัง (mass/power  ratio) สูงมาก     ทั้งนี้เนื่องมาจากการสร้างเครื่องจักรใช้โลหะ

                  เหล็กหล่อท าแทนที่จะใช้เหล็กกล้า   ในช่วงแรกเริ่มเครื่องจักรมีมวลมากถึง 30 Mg
                  ถึงแม้ว่าส่วนมากมีมวล 5 – 20 Mg     จึงส่งผลท าให้เกิดการอัดตัวของดินในแปลงเกษตรกรรม

                  (Bonnett , 1965)    การใช้เครื่องยนต์เครื่องจักรไอน ้าในยุโรปใช้ระบบการฉุดลากโดยใช้สาย

                  เคเบิล (cable  traction  systems)    ทั้งนี้เครื่องยนต์เครื่องจักรไอน ้าถูกติดตั้งต าแหน่งอยู่กับ

                  พื้นที่ที่บริเวณขอบแปลง    โดยวิธีการฉุดลากชุดเครื่องมือไถพรวนในแปลงโดยใช้ระบบ
                  สายเคเบิล (รูป 4.3)    ระบบดังกล่าวใช้ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการอัดตัวของดิน    มีผลท า

                  ให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น    การใช้เครื่องยนต์เครื่องจักรไอน ้าส าหรับฉุดลากโดยตรงได้รับการ
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97