Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             79









                                                     บทที่ 4

                                     การอัดตัวของดิน (Soil Compaction)



                         ก่อนจะขึ้นเนื้อหาบทนี้    ขอท าความเข้าใจเกษตรกรรมที่ลุ่มแปลงนาข้าว  (lowland

                  paddy  fields)   และแปลงพืชไร่  (upland  fields)   แตกต่างกันอย่างไร    ทั้งนี้ชั้นดิน  plow  -

                  pan   จ าเป็นมากส าหรับแปลงนาข้าว    ในขณะที่ดินชั้น  plow - pan  ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น
                  ในแปลงพืชไร่    เมื่อปรากฏดินชั้น  plow - pan  ในแปลงปลูกพืชไร่จ าเป็นต้องท าลายดินชั้น

                  plow – pan   โดยการไถดินอัดแน่นชั้นส่วนลึกนั้น


                  4.1  Plow – Pan  Layer

                         ปกติการท าเกษตรกรรมที่ลุ่มแปลงนาข้าว   จ าเป็นต้องท าให้เกิดดินชั้น plow – pan

                  เหนือดินชั้น subsoil   และขณะเดียวกันดินชั้นบน (topsoil) อยู่เหนือดินชั้น plow – pan
                  และจ าเป็นอย่างมากจะต้องหลีกเลี่ยงการท าลายดินชั้น plow – pan    ในขณะที่เกษตรกรปลูก

                  พืชไร่ในประเทศแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกา   ต้องการท าลายดินชั้น plow – pan ที่เกิดใน

                  แปลงเกษตรกรรม   ตรงกันข้ามกับการท านาข้าวในประเทศแถบเอเชีย   เกษตรกรต้อง

                  พยายามรักษาดินชั้น plow – pan ให้มีความเหมาะสมมากที่สุด   โดยปกติแล้วเกษตรกรท านา
                  จะใช้ระบบการท านาโดยวิธีปักด าต้นกล้าข้าว    ภายหลังจากท าเทือกดินในนาข้าว (puddling

                  paddy soil)  และการหว่านน ้าตมหรือหว่านข้าวงอก (ชาญพิทยา , 2542)   โดยปกติเกษตรกร

                  จะเดินท างานร่วมกับแรงงานสัตว์และรถไถเดินตามต้นก าลังหรือเกษตรกรนั่งขับรถ
                  แทรกเตอร์  4 ล้อวิ่งบนดินชั้น  plow – pan   ดินชั้น plow – pan มีค่าความแข็งปกติตามที่

                                                                               2
                  แสดงโดยค่า  cone  index  เท่ากับ 392 – 686  kPa  หรือ  4 – 7 kgf / cm    ทั่วไปดินชั้นนี้มี
                  ความหนา 10 – 15 cm (Sakai , 1999)   สามารถรับน ้าหนักเกษตรกร   แรงงานสัตว์และ

                  เครื่องจักรกลเกษตร   ในขณะท างานผู้ปฏิบัติงานจะต้องเดินไม่จมลึกเกินไปในโคลน   แต่
                  ควรจะสามารถยืนหรือท างานบนผิวชั้น plow – pan ได้   นอกจากนี้ความต้องการน ้า

                  ชลประทานในปริมาณมากเกินไป    เป็นต้นว่าต้องการน ้าชลประทานปริมาณมากกว่าความ

                  สูง 40 mm  ต่อวัน (Sakai , 1999)   โดยที่แปลงนาอาจจะไม่สามารถกักเก็บน ้าไว้ได้   มี
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94