Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             14








                  ครึ่งหนึ่งของปริมาตรรวม  ค่า   b  จะมีค่าครึ่ งหนึ่ งของค่า   s  ปกติค่า   b  มีค่า

                  โดยประมาณ 1.3 – 1.35 g/cm   กรณีดินทราย (sand) ค่า  b  จะมีค่าสูงถึง 1.6 g/cm   ขณะ
                                                                                         3
                                            3
                  ดินร่วนอุดมสมบูรณ์ (aggregated  loam)  และดินเหนียว (clay)  ค่า   b  มีค่าต ่าประมาณ 1.1

                  g/cm  (Daniel, 1980)    แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพการท าการเกษตรกรรมในแต่ละพื้นที่ เช่น
                       3
                  ในประเทศไทยแปลงทดลองมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตก าแพงแสน  จังหวัด
                  นครปฐม  ดินในแปลงชนิดร่วนเหนียว (clay loam)  ไม่มีการท าเกษตรกรรมทุกปี   ค่า

                                                      3
                  ความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง 1.51 g/cm     และค่าความต้านทานการแทงทะลุรูปกรวย
                  (cone  penetration  resistance) ในดิน 1.14 MPa  (Chertkiattipol et al., 2551)    แปลงทดลอง
                  ของสถานีทดลองในจังหวัดพิษณุโลก    ดินในแปลงชนิดร่วนปนทราย    มีการทดลองปลูก

                                                                          3
                  อ้อยเป็นประจ า   ค่าความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง 1.38 g/cm    ค่าความต้านทานการ
                  แทงทะลุรูปกรวยในดินในแถวปลูกอ้อย 2.18 MPa  และระหว่างแถวปลูกอ้อย 1.90 MPa
                  (Karoonboonyanan et. al.,2007)    ส่วนแปลงเกษตรกร  เขตอ าเภอยางชุมน้อย   จังหวัด

                  ศรีษะเกษ   ดินในแปลงชนิดดินร่วนปนทราย    เกษตรกรปลูกพืชสวนครัวประเภทหอมแดง

                  ทุกปี     ค่าความหนาแน่นรวมสภาพแห้ง 1.52-1.57 g/cm     ค่าความต้านทานการแทงทะลุ
                                                                   3
                  รูปกรวยในดิน 1.67  MPa  (ศิริชัย  เหล่าเลิศวรกุล และ ธัญญา นิยมาภา , 2545)  ในประเทศ
                  ญี่ปุ่นจากประสบการณ์ของผู้เขียนที่เคยท าการทดลองในแปลงเกษตรกรผู้ปลูกข้าว    ชนิดดิน

                  ร่วนปนทราย    ค่าความหนาแน่นรวมสภาพแห้งมีค่าต ่าเพียง 1.03 g/cm    และค่าความ
                                                                                  3
                  ต้านทานการแทงทะลุรูปกรวยในดิน 467 kPa  (Niyamapa  and  Salokhe, 2000)   Shibusawa

                  (1993)  ท าการทดลองเครื่องมือไถจอบหมุนชนิดหมุนกลับทาง (reverse  rotational  rotary
                  tiller) ในแปลงนาข้าว   ดินชนิด  clayey soil   ค่าความต้านทานการแทงทะลุรูปกรวยในดิน

                  460  kPa  ที่ความลึกน้อยกว่า  25 cm  มีค่า 620 kPa   ที่ความลึก  25-30 cm   และ  520  kPa

                  ที่ความลึกมากกว่า 30 cm    จากข้อสังเกตจะเห็นว่าความแข็งแรงดิน (soil strength) ใน
                  ประเทศญี่ปุ่ นแตกต่างจากดินประเทศไทยมาก   โดยเฉพาะดินในกลุ่ม Andosols เป็นดิน

                  volcanic ash  ในประเทศญี่ปุ่นมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมสภาพแห้งมีค่าต ่ามากเพียง 0.73

                      3
                  g/cm  (Batjes,1996)  และจากความแข็งแรงของดินที่ต่างกันนี้ก็จะมีผลอย่างมากต่อการใช้
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29