Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             15








                  เครื่องจักรกลเกษตรในแต่ละประเทศ   ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงจ าเป็ นจะต้องพัฒนา

                  เครื่องจักรกลเกษตรส าหรับประเทศไทย

                         ความหนาแน่นรวม (bulk density) ของดินจะเป็นผลโดยตรงเนื่องจากโครงสร้างดิน
                  ตัวอย่างเช่นลักษณะดินจับตัวกันอย่างหลวม ๆ (degree of losseness of soil)   และดินอัดตัว

                  แน่น (compaction of soil)   ถึงแม้ว่าดินจะมีการอัดตัวกันแน่นมากเพียงใด   ค่าความ

                  หนาแน่นรวมของดินจะมีค่าต ่ากว่าค่าความหนาแน่นอนุภาค   ทั้งนี้เป็นไปไม่ได้ที่

                  อนุภาคทุกอนุภาคจะเรียงตัวกันอย่างสมบูรณ์   จะต้องมีช่องว่างเหลืออยู่


                         (ค) ความหนาแน่นรวมสภาพเปียก (wet bulk density),   t



                                               =      M t / V t
                                         t
                                                  =       (M s + M w) / (V s + V a  + V w)



                         ความหนาแน่นรวมสภาพเปียก     เป็นค่าอัตราส่วนมวลรวมสภาพเปียกของดิน (total
                  mass  of  moist  soil) (M t)  ต่อค่าปริมาตรรวมทั้งหมด (V t)




                         (ง) ปริมาตรจ าเพาะสภาพแห้ง (dry  specific  volume),  b


                                         b     =       V t / M s
                                                   =       1 /  b



                         ปริมาตรจ าเพาะสภาพแห้ง  หมายถึง     ปริมาตรในหนึ่งหน่วยมวลของดินแห้ง     มี
                  หน่วย  cm /g    หาได้จากค่าอัตราส่วนปริมาตรรวมทั้งหมด  (V t)  ต่อมวลสภาพแห้งของดิน
                           3
                  (M s)   ทั้งนี้เป็นค่าที่แสดงให้เห็นสภาพการบดอัดดิน   หรือสภาวะการเกาะตัวกันอย่างหลวม

                  ๆ  ของดิน      ค่าปริมาตรจ าเพาะสภาพแห้งเป็นค่าอัตราส่วนกลับของค่าความหนาแน่นรวม

                  สภาพแห้ง
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30