Page 42 -
P. 42

ไมสามารถนำมาใชประเมินมูลคาทางการเงินไดโดยตรง แตอาจตองใชวิธี
 6) การเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดลอม ผลประโยชนดานสิ่งแวดลอมเปน
    ในการประเมินมูลคาทางออมแทนดังแสดงในภาพที่ 2-3
 ผลประโยชนทั้งทางตรงและทางออมที่สามารถและไมสามารถวัดเปนมูลคา  โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 ทางการเงินได
 ลักษณะของผลงานวิจัยดังกลาวขางตน สามารถสรางผลกระทบ           การพิจารณาคัดสรรงานวิจัย
 ตอเศรษฐกิจและสังคมไดโดยผานการเปลี่ยนแปลงของอุปสงคและอุปทาน

 ในระบบเศรษฐกิจ เปนผลใหผลประโยชนที่อยูในรูปของสวนเกินทางเศรษฐกิจ     วิทยาศาสตร   งานวิจัยพื้นฐาน   งานวิจัยประยุกต   วิทยาศาสตร

 เปลี่ยนแปลงไปดวย ทั้งนี้ งานวิจัยทุกโครงการมีวัตถุประสงคเพื่อกอใหเกิด      สังคมศาสตร   สังคมศาสตร
 ผลประโยชนสุทธิที่สามารถคำนวณเปนสวนเกินทางเศรษฐกิจที่มีมูลคา            การลงทุนในงานวิจัย

 เปนบวกทั้งสิ้น โดยทั่วไป ผลประโยชนจากงานวิจัยสามารถจำแนกออกเปน          ลักษณะของผลงานวิจัย

 3 กลุมหลักๆ ดวยกัน คือ ผลประโยชนที่มีตอ การผลิต การบริโภค และ
                องคความรูพื้นฐาน   การเพิ่มปริมาณผลผลิต   การเพิ่มคุณภาพผลผลิต

 สังคม/สิ่งแวดลอม ทั้งนี้ เมื่อนำหลักการทางเศรษฐศาสตรมาพิจารณา      การลดตนทุนการผลิต  การเพิ่มคุณภาพชีวิต/สังคม การเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดลอม
 ประเมินผลประโยชนที่เกิดขึ้นกับ  3  กลุม  ดังกลาวแลว  จะเห็นไดวา

 ผลประโยชนที่เกิดขึ้นกับสองกลุมแรกนั้น ผลประโยชนสวนใหญสามารถ        ผลประโยชนจากงานวิจัย

 แสดงเปนมูลคาของเงินตราไดอยางชัดเจน เนื่องจากสินคาและบริการ            ดานการผลิต   ดานการบริโภค   ดานสังคม/สิ่งแวดลอม
 ในกลุมของการผลิตและการบริโภคนั้น มีระบบราคาที่ผานกลไกตลาดเปน

 ตัวชี้วัดมูลคาทางการเงินอยางชัดเจน ดังนั้น ผลประโยชนทางเศรษฐศาสตร        มูลคาทางตรง   มูลคาทางออม

 จาการลงทุนในงานวิจัยตางๆ จึงสามารถประเมินไดจากสวนเกินของผูผลิต

 สวนเกินของผูบริโภค หรือสวนเกิน ทางเศรษฐกิจไดโดยตรง นอกจากนี้      สวนเกินทางเศรษฐกิจ   มูลคาจากการใชประโยชน
 ผลประโยชนจากงานวิจัยที่เกิดขึ้น  ในสองกลุมนี้ยังรวมถึงผลประโยชน        สวนเกินของผูบริโภค   มูลคาจากการไมไดใชประโยชน

 ทางออม  ซึ่งไมอาจวัดเปนมูลคาทางการเงินไดโดยตรง  อยางไรก็ตาม             สวนเกินของผูผลิต   มูลคาจากการไมไดใชประโยชน

 ผลประโยชนจากงานวิจัยที่เกิดขึ้นกับกลุมของสังคม/สิ่งแวดลอมนั้น
 การประเมินผลประโยชนคอนขางมีลักษณะเฉพาะตัว กลาวคือ ผลประโยชน        ผลประโยชนทางเศรษฐศาสตรจากงานวิจัย

 ที่เกิดขึ้นประกอบดวยผลประโยชน ทางตรงที่สามารถคำนวณใหอยูในรูป   ภาพที่ 2-3 กรอบการประเมินผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัย
          ที่มา: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)
 ของมูลคาทางการเงินไดหาก ผลประโยชนที่เกิดขึ้นมีระบบราคาตลาดเปน   ภาพที่ 2-3 กรอบการประเมินผลประโยชนทางเศรษฐศาสตรจากงานวิจัย

 ตัวชี้วัด  และผลประโยชน  ทางออมที่เกิดขึ้นในกรณีที่ระบบราคาตลาด       ที่มา: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)





 20                                                                          21
     22
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47