Page 244 -
P. 244
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
226 มวลอากาศและแนวปะทะอากาศ ฤดูกาล ภูมิอากาศและภูมิอากาศโบราณ
มวลอากาศที่มีอุณหภูมิ ความดัน และความชื้นเหมือนกันเป็นบริเวณกว้าง เมื่อ
เคลื่อนที่เข้ามาปะทะกันมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบนผิวโลกอย่างมาก
การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ท าให้เกิดฤดูกาล พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่ตั้งฉาก
บริเวณใดบริเวณนั้นจะมีภูมิอากาศแตกต่างกับบริเวณอื่น ลักษณะเช่นนี้อาจเกิดมวลอากาศ
ร้อนชื้นลอยขึ้นสู่ระดับสูง เมื่อมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าสู่มวลอากาศร้อนจะเกิดแนวปะทะ
อากาศ และเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดพายุหมุน
การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากลักษณะโครงสร้างภานใน
ของโลกท าให้เกิดยุคน ้าแข็ง เมื่อมีสถานการณ์อื่นสนับสนุนและยังท าให้เกิดยุคน ้าท่วม
เนื่องจากการละลายของหิมะและน ้าแข็งบริเวณขั้วโลก
เอกสารประกอบการเรียบเรียง
nd
Abbott, P.L. 1999. Natural Disasters. 2 ed. Mc Graw – Hill Inc., London. 397 p.
rd
Ahrens, C.D. 1988. Meteorology Today. 3 ed. West Publishing Company, New York. 582 p.
Battan, L.J. 1984. Fundamentals of Meteorology. 2 ed. Prentice–Hall, Inc., Englewood Cliffs.
nd
304 p.
Chow, V.T., D.R. Maidment and L.W. Mays. 1988. Applied Hydrology. Mc Graw–Hall, Inc.,
London. 572 p.
De Blij, H.J. and P.O. Muller. 1993. Physical Geography of the Global Environment. John
Wiley & Sons, Inc. Canada. 576 p.
nd
Fleagle, R.G. and J.A. Busingen. 1980. Atmospheric Physics. 2 ed. Academic Press, Inc.,
London. 434 p.
Karttunen H. ,P. Kroger, H. Oja, M. Poutanen, and K.J. Donner. 1996. Fundamental
Astronomy. 3rd ed., Springer, Verlag Berlin Hliclelbers, New York. 541 p.
Moran, J.M. and M.D.Morgan. 1986. Meteorology. Burgess Publishing, MN, USA. 502 p.