Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 12

                          แตเนื่องจากสัญญาณที่สุมตัวอยางไดจากสัญญาณอนาล็อกมีคาตอเนื่อง  เชน  มีคา

                          เทากับ 25.143  คาตอเนื่องที่สุมไดจะตองถูกปรับใหเปนคาไมตอเนื่องดวยขบวนการ
                          ที่เรียกวาขบวนการคอนซไทซกอน  ขบวนการนี้จะปรับคาสัญณาณที่เปนคาตอเนื่อง

                          ใหเปนคาไมตอเนื่อง เชน คาสุม 25.143 จะถูกปรับใหมีคาเทากับ 25 เปนตน คาที่ได

                          ปรับแลวจะถูกเปลี่ยนใหอยูในรูปของเลขฐานสองคือ  00011001    ซึ่งเปนเลขที่

                          สามารถเก็บและประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรได



                   1.3   ดิจิทัลอิมเมจ (Digital Images)



                          จากที่กลาวไปแลววาอิมเมจเปนภาพถาย 2  มิติ  การอางอิงถึงอิมเมจจะอางอิงโดยใช
                          ฟงกชัน 2 มิติ ฟงกชัน f(x,y) โดยคา f(x,y) แทนคาความเขมแสง (intensity) หรือคา

                          ความสวาง (brightness) ของจุดภาพ ณ.ตําแหนง (x,y) โดยคาความเขมแสขเปนเลข

                          จํานวนจริงใด  ๆ  ที่มีคาอยูระหวางคาต่ําสุดและคาสูงสุด  โดยคาต่ําสุดและสูงสุดของ
                          ภาพจะขึ้นอยูกับชนิดและการจัดเก็บขอมูลภาพ เชน ภาพขาว-ดํา จะแทนคาความเขม

                          แสงต่ําสุดดวย 0 (สีดํา) และแทนคาความเขมแสงสูงสุดดวย 1 (สีขาว) และคาความ

                          เขมภายในภาพจะมีการเปลี่ยนแปลงอยูในชวง 0 ถึง 1 เปนตน สําหรับภาพอนาลอก
                          ฟงกชัน  f(x,y)  จะมีลักษณะตอเนื่อง  เมื่อนําคาความเขมแสงอนาลอกผานขบวนการ

                          สุมและขบวนการคอนซไทซก็จะไดภาพดิจิทัล  โดยภาพดิจิทัลจะมีคาความเขมแสง

                          และตําแหนง (x, y) เปนคาไมตอเนื่อง ภาพขาว-ดําจะเก็บคาความเขมแสงเปนเลขไบ

                          นารี (มีคา 0 หรือ 1) ไวในหนวยความจํา และจัดเก็บคาความเขมแสงของหนึ่งจุดภาพ
                          ไวในหนวยความจําขนาด 8 บิต คาความเขมแสงจะมีคาระหวาง 0 (แทนสีดํา) ถึง 255

                          (แทนสีขาว)  และจุดภาพแตละจุดภาพจะมีเพื่อนบาน (neighborhood)  อยูลอมรอบ

                          โดยตําแหนงของเซลลเพื่อนบานกําหนดไดหลายแบบ  ที่นิยมใชในการประมวลผล

                          ภาพมีสองแบบ  คือ  แบบเพื่อนบาน 4 (4-neighborhood)  และแบบเพื่อนบาน 8 (8-
                          neighborhood)  ตําแหนงของจุดพิกเซลเพื่อนบานแสดงในรูปที่ 1.12  โดยจุดพิกเซล

                          เทาแสดงถึงจุดที่เราสนใจ และพิกเซลสีขาวในรูปแสดงพิกเซลเพื่อนบานของจุดที่เรา

                          สนใจ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26