Page 185 -
P. 185

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 176

                          ภาพและใหความถี่สูงแสดงตามมุมขอบของภาพ ดังรูปที่ 6.11(ข) การเลื่อนทําไดโดย

                                                   x+y
                          คูณสัญญาณอินพุตดวย (-1)   กอนทําการแปลงฟูริเยร  วิธีการแสดงผลแบบที่ให
                          คาความถี่ต่ําอยูกลางภาพนั้นเรียกวา   การแสดงผลแบบออฟติคอล    (optical

                          representation) การแสดงผลแบบนี้สามารถทําใน MATLAB ไดดวยคําสั่ง fftshift(.)
                                                                 x+y
                          โดยไมจําเปนตองคูณสัญญาณอินพุตดัวย (-1)   กอนการแปลง  ตัวอยางโปรแกรม
                          ดานลางเปนการแปลงฟูริเยรภาพลายนิ้วมือ  จากภาพตนฉบับภาพลายนิ้วมือในภาพที่

                          6.13(ก)  จะเห็นวารายละเอียดของลายนิ้วมือมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงความเขมแสงที่

                          เปนจังหวะคอนขางสม่ําเสมอใกลเคียงกัน  ดังนั้นการวิเคราะหหาสัญญาณรบกวน
                          ภายในภาพจึงทําไดงายเมื่อทําการวิเคราะหภาพลายนิ้วมือในโดเมนความถี่ ผลลัพธที่

                          ไดจากการแปลงฟูริเยรแสดงในรูปที่ 6.13(ข) และ 6.13(ค)


                             >> im = imread ('fp_original.jpg');   %อานภาพอินพุต

                             >> fim = abs(fft2(im));     % หาขนาดของ FFT ของภาพอินพุต
                             >> figure; colormap(gray);

                             >> imagesc(1+log(fim);      % แสดงคาสเปคตรัมที่ไดแบบมาตราฐาน

                             >> figure;colormap(gray);

                             >> imagesc(1+log(fftshift(fim)));% แสดงคาสเปคตรัมแบบออฟติคอล




                          นอกจากนั้นคาสัมประสิทธิ์ดีซีที่ไดจากการแปลงฟูริเยรมักมีคาสูงมากเมื่อเทียบกับคา
                          สัมประสิทธิ์ฟูริเยรตัวอื่นๆ  ถาเราแสดงคาสัมประสิทธิ์ที่ไดโดยตรง  เราจะเห็นแต

                          คาสัมประสิทธฺดีซีเทานั้น  ไมเห็นรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของสัมประสิทธิ์ตัว

                          อื่นๆ คือ มักจะเห็นแตจุดสวางบริเวณกลางภาพ  ในกรณีนี้เราตองทําการปรับคาฟูริ
                          เยรสเปคตรัมที่คํานวณไดกอนการแสดงผล  การปรับลดทําไดหลายวิธี  วิธีที่นิยมมี

                          สามวิธีดังนี้

                              วิธีแรกเปนการแสดงผลในสเกลลอก นั้นคือ จะแสดงคา log(1+F(u,v)) แทน
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190