Page 67 -
P. 67

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       55

                   (2)  ดิสพรอพอร์ชันเนชัน (Disproportionation) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากอะตอมของไฮโดรเจนเกาะ

                        ที่คาร์บอนติดกับจุดว่องไวของอนุมูลอิสระถ่ายโอนอิเล็กตรอนไปให้จุดว่องไวของอนุมูลอิสระ
                        อีกโมเลกุล ทําให้อนุมูลอิสระที่รับอิเล็กตรอนกลายเป็นสายโซ่พอลิเมอร์สมบูรณ์ ในขณะที่
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        อนุมูลอิสระที่ให้อิเล็กตรอนกลายเป็นโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนขาดคู่ที่คาร์บอน 2 อะตอมซึ่งอยู่
                        ติดกัน จึงสร้างพันธะกันทําให้เกิดเป็นพันธะคู่คาร์บอน-คาร์บอน สามารถเกิดปฏิกิริยาต่อไป

                        ได้อีกเสมือนเป็นมอนอเมอร์ ภาพที่ 3-6 แสดงการสิ้นสุดปฏิกิริยาด้วยวิธีดิสพรอพอร์ชันเนชัน



































                   ภาพที่ 3-6 การสิ้นสุดปฏิกิริยาด้วยวิธีดิสพรอพอร์ชันเนชัน
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   ที่มา: ดัดแปลงจาก http://pslc.ws/welcome/tour/macrog/radical.htm

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right

                   (3)  การถ่ายโอนโซ่ให้พอลิเมอร์ (Chain transfer to polymer) เป็นการสิ้นสุดสายโซ่พอลิเมอร์ที่มี

                        ความว่องไวต่อปฏิกิริยา (ยังมีอิเล็กตรอนขาดคู่หรือเป็นอนุมูลอิสระ) พร้อมกับการผลิตสายโซ่
                        พอลิเมอร์ใหม่ที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา ดังแสดงในภาพที่ 3-7 เนื่องจากอะตอมของไฮโดรเจนเกาะ
                        ที่คาร์บอนในสายโซ่พอลิเมอร์สมบูรณ์ถ่ายโอนอิเล็กตรอนให้อนุมูลอิสระเพื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา

                        การเกิดพอลิเมอร์ของอนุมูลอิสระ แต่คาร์บอนนั้นกลับมีอิเล็กตรอนขาดคู่ จึงทําให้ว่องไวต่อ

                        ปฏิกิริยา เมื่อมีมอนอเมอร์เข้ามาใกล้จึงเกิดปฏิกิริยากัน และเมื่อมอนอเมอร์เข้ามาเติมมากขึ้น

                        จะทําให้สายโซ่เป็นสายโซ่แบบกิ่ง (Branch chain) ดังแสดงในภาพที่ 3-8 ตัวอย่างพอลิเมอร์ที่
                        เกิดในลักษณะนี้ ได้แก่ LDPE
                   (4)  การใช้สารควบคุม (Regulator) การสิ้นสุดการเกิดพอลิเมอร์อาจใช้สารควบคุม ได้แก่ สารกลุ่ม

                        ไทออล (Thiols) คาร์บอนเททระคลอไรด์ (CCl 4) และไตรคลอร์เอทิลีน (Trichlorethylene)








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72