Page 151 -
P. 151

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               142                                                                           บทที่ 6





               เริ่มจากสมการดิฟเฟอเรนเชียลของการเกิดสาร P ในสมการ (6.92) คือ
                                           d  [P]
                              rate R =             =       k  [AM][B]                      (6.94)
                                                            2
                                            dt
               เมื่อ [i]  =  ความเขมขนในรูปจํานวนโมเลกุลตอปริมาตรของสาร i เชน A, B, M, AM, P



               ในการหาความเขมขนของ AM ที่เปนสารมัธยันตร  โดยใชระเบียบวิธีประมาณสภาวะคงตัว
               (steady-state approximation method)  และใชกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของการเปลี่ยนแปลงความ
               เขมขนของ AM จะได

                           d [AM]
                                  =  k  [A] [M] – k  [AM] – k  [AM][B]  ~ 0
                                                                2
                                                      d1
                                          a1
                             dt
                                                           k  1 a  [A] [M]
               จะได                      [AM]     =                                       (6.95)
                                                           k 2 [B]+ k  1 d

               จากนิยามในสมการ (6.1) จะได [AM]    =       N mon  θ                        (6.96)
               และ                         [M]     =       N  (1 – θ)                      (6.97)
                                                            mon
               เมื่อ N  = จํานวนโมเลกุลของตัวถูกดูดซับที่มีการดูดซับไดสมบูรณเพียงชั้นเดียวตอปริมาตร
                     mon
               และ  θ = เศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิวของสาร A

               จากสมการ (6.8), (6.9) และ (6.10) จะได [A]  =  p   และ [B]  =  p B          (6.98)
                                                         A
               และ ความเขมขนเริ่มตนของสาร A และ B คือ [A]   =  p   และ [B]   =  p B,0   (6.99)
                                                               A,0
                                                                         0
                                                         0

               แทนคา [AM], [M] และ [A], [B] จากสมการ (6.96), (6.97) และ (6.98) ตามลําดับ ในสมการ (6.95)
               จะได
                                                           k  1 a  p  N  1 ( −  ) θ
                                        N mon  θ   =            A  mon
                                                              k 2 p +  k  1 d
                                                                  B
                                                                 k  1 a  p
               จัดรูปใหม จะได             θ      =                  A                    (6.100)
                                                           k 2 p + k  1 d  +  k  1 a  p A
                                                               B

               แทนคา [AM], [B] และ θ จากสมการ (6.96), (6.98) และ (6.100) ตามลําดับ ในสมการ (6.94) จะ

               ได

                                           d  [P]           N mon k 2 k  1 a  p A p B
                              rate R  =            =                                       (6.101)
                                            dt              k 2 p + k  1 d  +  k  1 a  p A
                                                               B
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156