Page 150 -
P. 150
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ 141
รูปที่ 6.11 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate R) และความดันของสารตั้งตน
A (p) ในปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรง (M) ที่มีสารตั้งตนเพียงโมเลกุลเดียวคือ
M
A(g) ⎯ ⎯→ P(g)
rate R
zero order
first order
p
6.6.2 ปฏิกิริยาบนพื้นผิวของโมเลกุลคู (Bimolecular Surface Reaction)
ในการพิจารณาปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนสองชนิด (A, B) ที่มีสถานะเปนแกสหรือสารละลาย
ของเหลว โดยมีตัวเรง (M) ที่เปนของแข็ง และเกิดผลิตภัณฑ (P) ดังตัวอยางตอไปนี้
M
A(g) + B(g) ⎯ ⎯→ P(g) (6.90)
โดยมีกลไกของการดูดซับ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 กลไกอีเลย-ไรดีล (Eley-Rideal mechanism) และ
แบบที่ 2 กลไกแลงเมียร-ฮินเชลวูด (Langmuir-Hinshelwood mechanism)
แบบที่ 1 กลไกอีเลย-ไรดีล (Eley-Rideal mechanism) เปนกลไกที่สารตั้งตนเพียงชนิดเดียว (A) ที่
ถูกดูดซับบนพื้นผิวของตัวเรง (M) ตอมาสารตั้งตนอีกชนิด (B) จะเขาทําปฏิกิริยากับสารตั้งตนตัว
แรกที่ถูกดูดซับบนพื้นผิวของตัวเรง (AM) และจะเกิดผลิตภัณฑ (P) ดังกลไกตอไปนี้
k a
A(g) + M(surface) AM(surface) (6.91)
k d
k
B(g) + AM(surface) ⎯⎯⎯ → P(g) + M(surface) (6.92)
2
เมื่อ k , k = คาคงที่อัตราของการดูดซับและการหลุดออกจากพื้นผิวของ A ตามลําดับ
a1 d1
k 1 a
K = สัมประสิทธิ์ของการดูดซับ = (6.93)
k 1 d
k = คาคงที่อัตราของขั้นตอนที่ 2 ในสมการ (6.92)
2