Page 149 -
P. 149

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               140                                                                           บทที่ 6





               จัดรูปใหมและแทนคา K จากสมการ (6.72) จะได
                                                           N mon k 2  p K
                                            R      ~                                       (6.86)

                                                              1+   p K
               จะเห็นวาสมการ (6.86)  ของกรณีที่มีขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตรา  จะมีเทอมของ
               เศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (surface coverage,  θ)  เหมือนกับไอโซเทอรมแลงเมียรใน

               สมการ (6.12) คือ

                                                              p K
                                              θ    =                                       (6.12)
                                                           1+  p K

               ดังนั้นสมการ (6.86) จะได    R      ~       N  k θ                          (6.87)
                                                            mon 2
               สมการ (6.87)  แสดงวาปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรงที่มีสารตั้งตนเพียงโมเลกุลเดียว  จะมีอัตราการ

               เกิดปฏิกิริยาแปรตามเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) ที่เปนสวนสําคัญในการเกิดปฏิกิริยาใน

               กรณีที่ขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตรา

                       ดังนั้นอาจพิจารณาสมการ    (6.86)   ที่เปนกรณีที่ขั้นกําหนดอัตราคือขั้นตอนของการ

               เกิดปฏิกิริยา ออกเปน 2 กรณียอยๆ คือ ความดันต่ําและสูง ดังตอไปนี้

               กรณีที่ 2.1  กรณีความดันต่ําหรือ 1 >> K p จะได

                                            R      ~       N  k K p                        (6.88)
                                                            mon 2

               สมการ (6.88)  แสดงวาปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรงที่มีสารตั้งตนเพียงโมเลกุลเดียวเปนปฏิกิริยา
               อันดับหนึ่งเทียบกับสารตั้งตน โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาแปรตามความดันของสารตั้งตน ในกรณี

               ที่ขั้นกําหนดอัตราคือขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาและมีความดันต่ํา  และแสดงความสัมพันธระหวาง

               อัตราการเกิดปฏิกิริยาและความดันในรูปที่ 6.11

               กรณีที่ 2.2  กรณีความดันสูงหรือ 1 << K p จะได

                                            R      ~       N  k                            (6.89)
                                                            mon 2

               สมการ (6.89)  แสดงวาปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรงที่มีสารตั้งตนเพียงโมเลกุลเดียวเปนปฏิกิริยา

               อันดับศูนยเทียบกับสารตั้งตน   โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ไมขึ้นกับความดันของสารตั้งตน
               เนื่องจากดูดซับไดมาก  เมื่อมีความดันสูง  และขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตรา  และ

               แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาและความดันในรูปที่ 6.11
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154