Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว











                            6) นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของ  จํานวน 99 ราย สวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 45 ป
                       และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความพึงพอใจมากที่สุดตอดานบทบาทหนาที่ของ สกย. ที่มีตอ
                       เกษตรกรชาวสวนยาง รองลงมาผลการดําเนินงานของ สกย. เปนประโยชนตอเกษตรกรชาวสวนยาง
                       และการไดรับความรวมมือจาก  สกย. สําหรับปญหาและขอเสนอแนะจากการรับบริการสวนใหญพบ

                       ในดานของการมีจํานวนเจาหนาที่ไมเพียงพอกับการใหบริการเกษตรกรมากที่สุด  และการบูรณาการ
                       ดานแผน งานรวมกับหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหการดําเนินงานในพื้นที่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
                       รองลงมาควรเพิ่มการประชาสัมพันธ บทบาทหนาที่ของ สกย. พรอมทั้งหลักเกณฑตางๆ ที่เกี่ยงของ
                       ใหกับเกษตรกรไดทราบมากยิ่งขึ้น มีการจัดการดานยางที่ครอบคลุมทุกดาน   ทั้งดานวิชาการ  และ

                       ตลาด ตลอดจนมีการแจงขอมูลตางๆ ใหผูที่เกี่ยวของได รับทราบเพิ่มมากขึ้น มีการจัดตั้งศูนยขอมูล
                       ยางในระดับจังหวัดเพื่อใชสําหรับเปนแหลงขอมูลใหกับเกษตรกร  การจัดทําคลีนิคเคลื่อนที่เพื่อให
                       ความรูแกเกษตรกร  ซึ่งเปนบริการเชิงรุกแกกลุมเปาหมาย  พรอมทั้งเพิ่มการใหความสําคัญ กับการ
                       พัฒนาความรูในเรื่องของคุณภาพผลผลิตจากยางพารา


                            จากผลการสํารวจในเบื้องตนสามารถสรุปไดวา สกย. ควรเรงการพัฒนา  4ระบบบริหารจัดการ
                       ดานวัสดุสงเคราะหใหแกเกษตรกร โดยเฉพาะเรื่องปุยบํารุงตนยาง  การชวยเหลือใหเกษตรกรมีอาชีพ
                       เสริมอยางทั่วถึง  การ 4สรางความเขาใจในการจัดตั้งกลุมใหแกเกษตรกร  การ 4เพิ่มการอบรมใหความรู
                       เกี่ยวกับการทําสวนยาง  4ในเรื่องของพันธุยาง  4การบํารุงรักษา การปองกันโรคยางพาราอยางตอเนื่อง
                       และคุณภาพผลผลิตยางแกเกษตรกร โดยเฉพาะเกษตรกร    4ที่เขารวมโครงการบํารุงรักษาสวนยางและ

                       การกรีดยางอยางถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิต   การปรับปรุงการบริหารจัดการดานตลาดในความดูแลของ
                       สกย. ทั้งดานการจัดการ พอคา สถานที่ พรอมทั้งมีการพัฒนาพนักงานของ สกย. ใหมีความรู ความ
                       เชี่ยวชาญเรื่องพันธุยาง ปุย วัชพืช โรค และตลาดยาง เพื่อเปนสื่อกลางในการแนะนําเกษตรกรในขั้น

                       พื้นฐาน ทั้งนี้ในเบื้องตน สกย. ควรเพิ่มอัตรากําลังของบุคลากรดานวิชาการ/ สงเสริม ใหมีสัดสวนของ
                       จํานวนเจาหนาที่ตอเกษตกรที่เหมาะสมและครอบคลุมทุกพื้นที่

                            4อยางไรก็ตาม สกย. ควรใหความสําคัญกับการสรางความตระหนักถึง ความรักในอาชีพการทํา
                       สวนยางใหกับลูกหลานเกษตรกร  และเกษตร กร  เพื่อผลักดันใหกลับมาทําสวนยางพาราและใช
                       แรงงานในครัวเรือนเปนหลัก ซึ่งจะชวยแกปญหาขาดแรงงาน  และลูกจาง/ แรงงานไมมีความซื่อสัตย

                       ตอคุณภาพผลผลิต
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11