Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว










               เฉลี่ย 18 ไร มีสมาชิก ในครอบครัวเฉลี่ย 4 ราย เปนแรงงานในการทําสวนยางไดเฉลี่ย 2 ราย และ
               กวารอยละ 15 จางแรงงานในการทําสวนยางพาราเฉลี่ย 3 ราย   ดานการกรีดยาง ใชแรงงานใน
               ครัวเรือนเฉลี่ย 2 ราย และมากกวารอยละ 21 จางแรงงานกรีดยางเฉลี่ย 2 ราย  ดานการใหบริการ
               ของ สกย. เกษตรกรมีความพึงพอใจมากที่สุดตอการใหบริการของ สกย. โดยเฉพาะการใชวาจา  ที่

               สุภาพของพนักงาน สกย. รองลงมา มีความกระตือรือรนในการใหบริการ การแตงกาย การมีมนุษย
               สัมพันธของพนักงาน และการใหความสะดวกในการมาขอรับบริการ  สําหรับปญหาและขอเสนอแนะ
               จากการรับบริการ สวนใหญพบใน ดานตลาดยางมากที่สุด  โดยเฉพาะในประเด็นของราคายางที่
               เปลี่ยนแปลงตามสภาวะราคาของตลาดโลก และจํานวนตลาดยางภายใตการดูแลของ สกย. ไมครอบ

               คุลมทุกพื้นที่ รองลงมาการบริหารจัดการกลุมเกษตรกรสูความเขมแข็ง และการจัดอบรมใหคําแนะนํา
               ทางวิชาการอยางทั่วถึง

                     4) พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร  จํานวน 53 ราย สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุ
               เฉลี่ย 45 ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรี รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกรจากรานที่ตนเองเปน

               เจาของ โดยรับซื้อในพื้นที่ มากที่สุด รองลงมารับซื้อผลผลิตจากตลาดที่ซื้อขายในลักษณะของการ
               ประมูลภายใตการดูแลของ สกย.  สําหรับการรับซื้อผลผลิต พอคารับซื้อ ในรูปแบบของยางแผนดิบ
               และยางกอนถวยมากที่สุด  รองลงมาในรูปแบบของน้ํายางสด  ดานการใหบริการของ สกย.  พอคามี
               ความพึงพอใจมากที่สุดตอดานการบริการตลาดยางในพื้นที่ โดยเฉพาะประโยชนของตลาดยางใน
               พื้นที่ รองลงการอํานวยความสะดวกของพนักงาน สกย. และทําเล-ที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก

               สําหรับปญหาและขอเสนอแนะจากการรับบริการสวนใหญพบในดานการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตยาง
               ของเกษตรกรมากที่สุด รองลงมา ตลาดยาง ภายใตการดูแลของ สกย.  มีพอคารวมดําเนินกิจกรรมใน
               ตลาดนอย

                     5) ผูสงออกยางพาราที่จายเงิน สงเคราะห (cess) จํานวน 59 ราย สวนใหญเปนเพศหญิง
               มีอายุเฉลี่ย 36 ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และในปที่ผานมาสงออกยางแผนรมควันมากที่สุด

               ดานการใหบริการของ สกย. พอคามีความพึงพอใจมากตอดานการใหบริการของ สกย. โดยเฉพาะการ
               แตงกายของพนักงาน สกย. รองลงมาการมีมนุษยสัมพันธของพนักงาน การใช ที่วาจาสุภาพ ความ
               กระตือรือรนในการใหบริการ ความสะดวกรวดเร็วในการใหบริการ และ การใหคําแนะนํา/ การตอบ

               ขอซักถามในการกรอกขอมูลในแบบคําขอชําระเงินสงเคราะหและเอกสารประกอบ     สําหรับปญหา
               และขอเสนอแนะจาก การรับบริการ สวนใหญพบใน ดานการใหบริการ จายเงินสงเคราะห ( cess)
               มากที่สุด โดยเฉพาะความลาชาของระบบคอมพิวเตอร การบริการจายเงินและขอใบผานดานควรให
               อยู ณ จุดเดียวกัน รองลงมาดานการใหบริการจายเงินสงเคราะห (cess) ลาชา ควรเพิ่มการตรวจสอบ

               ขอมูลของลูกคาและ สิ่งอํานวยความสะดวก ในการจายเงินสงเคราะห ( cess) โดยเฉพาะธนาคารที่
               เชื่อมโยงระบบการชําระเงิน

                        สําหรับความคิดเห็นตอการจายเงินสงเคราะห ( cess) ผานระบบ NSW พอคาสวนใหญ
               เห็นดวยกับการปรับเปลี่ยนระบบการจายเงินสงเคราะหจากระบบเดิมเปนระบบ  NSW เนื่องจากมี
               ความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา สามารถลดขั้นตอนตางๆ ไดมาก
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10