Page 137 -
P. 137
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
13-16
อ้อยตามที่ได้ประกาศไว้จะได้หรือไม่ตามที่ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอ และให้ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาต่อไป
วันที่ 19 มีนาคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาการท า
ส ามะโนการเกษตร พ.ศ. .... (ให้มีการท าส ามะโนการเกษตร ทั่วราชอาณาจักร โดยก าหนดให้พระราช
กฤษฎีกานี้มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2545 เป็นต้นไป) ตามที่ส านักนายกรัฐมนตรีเสนอ และ
ให้ส่งส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา
วันที่ 2 เมษายน 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบบันทึกความเข้าใจทางด้านยางระหว่างไทย-
มาเลเซีย-อินโดนีเซีย และอนุมัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็น
ผู้แทนรัฐบาลไทยลงนามในบันทึกความเข้าใจดังกล่าว และอนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กู้เงินจาก
ธนาคารกรุงไทยจ ากัด (มหาชน) ในวงเงินตามสัดส่วนของฝ่ายไทยที่จะต้องลงทุนในบริษัทร่วมทุน โดยให้
กระทรวงการคลังค้ าประกัน ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์) ประธาน
กรรมการนโยบายยางธรรมชาติเสนอ และที่เสนอเพิ่มเติม และให้ด าเนินการต่อไปได้ โดยให้รับข้อสังเกต
ของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการร่วมลงทุนในบริษัทร่วมทุนฯ ได้ก าหนดสัดส่วนการร่วมทุนของไทย:
อินโดนีเซีย: มาเลเซีย เป็น 2 : 1.5 : 1 ตามล าดับ แต่จ านวนผู้แทนประเทศในคณะกรรมการบริหาร
ประเทศละ 3 คน เหมาะสมหรือไม่ และอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทร่วมทุนตามเอกสาร
ภาษาไทย ไม่ตรงกับร่างบันทึกความเข้าใจฉบับภาษาอังกฤษ สมควรแก้ไขให้ถูกต้องและชัดเจน ทั้งการ
พิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการบริหาร (Chief Executive Director) ของไทย
สมควรพิจารณาเลือกสรรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์
วันที่ 7 พฤษภาคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ
คณะรัฐมนตรี คณะที่ 4 ที่มีมติเห็นชอบในหลักการให้มีการจัดตั้งส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ
อาหารแห่งชาติขึ้น เป็นหน่วยงานกลาง หรือเป็นองค์กรกลางในลักษณะของ Single Agency โดยให้เป็น
หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมอบให้กระทรวงเกษตรฯ จัดตั้งคณะกรรมการ
ขึ้นมาคณะหนึ่งด าเนินการยกร่างกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าและอาหารในรูปแบบของ
พระราชบัญญัติเป็นกฎหมายพิเศษเฉพาะ โดยให้มีผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และผู้แทนของ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง
อุตสาหกรรม และส านักงาน ก.พ. เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการด้วย แล้วน าเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป
วันที่ 17 มิถุนายน 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการศึกษาการแก้ปัญหาราคาทุเรียนตกต่ า
ของจังหวัดจันทบุรี ซึ่งผลจากการศึกษาพบว่า ปัญหาและสาเหตุที่ท าให้ราคาทุเรียนตกต่ าเกิดจากปริมาณ
และคุณภาพผลผลิตไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด กระบวนการตลาดที่ด้อยประสิทธิภาพ
การส่งผลผลิตที่ด้อยคุณภาพไปจ าหน่ายยังต่างประเทศ ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขาดการตัดสินใจในการแก้ปัญหา รวมทั้งไม่ให้ความส าคัญกับนโยบาย และขาดการแสวงหาการสนับสนุน
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น มาตรการในการแก้ปัญหาดังกล่าว ควรมีผู้รับผิดชอบหลักในระดับนโยบาย