Page 136 -
P. 136

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      13-15



                                         1.1 ให้ความเห็นชอบในหลักการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนยางพาราระหว่างประเทศ

                   ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซียโดยการจัดตั้งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างประเทศให้มีคณะกรรมการบริหาร
                   ร่วมประกอบด้วย ผู้แทนจากสามประเทศ โดยเห็นชอบให้จัดตั้งส านักงาน ณ ประเทศไทย และให้ผู้แทน

                   จากประเทศไทยท าหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ให้เรียกเก็บกองทุนจดทะเบียนที่ร่วมทุนตาม

                   สัดส่วนปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของแต่ละประเทศ คาดว่าจะใช้ทุนจดทะเบียนประมาณ 225
                   ล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีหน้าที่ซื้อขาย บริหารยางจากทั้งสามประเทศ

                                         1.2 ให้ประธานกรรมการนโยบายยางธรรมชาติร่วมกับกระทรวงเกษตรและ
                   สหกรณ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมการในรายละเอียดด้านต่างๆ และเร่งรัดให้ด าเนินการเป็นรูปธรรม

                   เนื่องจากบริษัทนี้เป็นการร่วมทุนของสามประเทศ โดยมีส านักงานตั้งอยู่ในประเทศไทย ดังนั้นจึงควรมี

                   มาตรการทางภาษีสนับสนุนในการด าเนินกิจการบริษัทฯ ของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย
                                  2. ให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ

                   สังคมแห่งชาติ และส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนรับไปพิจารณารูปแบบและแนวทางเกี่ยวกับ
                   มาตรการทางภาษีสนับสนุนในการด าเนินกิจการบริษัทฯ ของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย เนื่องจาก

                   บริษัทนี้เป็นการร่วมทุนของสามประเทศ โดยมีส านักงานตั้งอยู่ในประเทศไทยในเรื่องนี้ต่อ

                           วันที่ 12 มีนาคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงพาณิชย์รายงานมาตรการ
                   แก้ไขปัญหาราคาข้าวนาปี  ปี 2544/45 ไตรมาสที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2544)  ซึ่งคณะกรรมการนโยบาย

                   และมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) มีมติเห็นชอบและอนุมัติให้ด าเนินมาตรการแก้ไขปัญหาดังกล่าว

                   ตามข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบายข้าว (กนข.) โดยใช้เงินจากกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร เพื่อ
                   ด าเนินการรับจ าน าข้าวเปลือกจากเกษตรกร ด าเนินการแทรกแซงรับซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร พร้อมทั้ง

                   ด าเนินมาตรการเสริมเพื่อให้การรับจ าน าข้าวเปลือกจากเกษตรกรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  และการ

                   ระบายข้าวออกสู่ตลาดต่างประเทศ โดยผลการรับจ าน า ณ วันที่ 31 มกราคม 2545  องค์การคลังสินค้า
                   (อคส.) องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้

                   เปิดจุดรับจ าน า 517 จุด ในพื้นที่ 59 จังหวัด จากพื้นที่เป้าหมาย 67 จังหวัด มีเกษตรกรน าข้าวเปลือกมา
                   รับจ าน า 384,192 ราย ปริมาณรวม 2,956,675 ตัน  จ าแนกเป็นข้าวหอมมะลิ ข้าวเปลือกเจ้านาปี และ

                   ข้าวเปลือกเหนียว โดย อคส. รับฝากเก็บ  1,645,194 ตัน อ.ต.ก. 673,856 ตัน และ ธ.ก.ส. 637,625 ตัน

                   ซึ่งภายหลังจากการด าเนินการรับจ าน า
                           วันที่ 12 มีนาคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบค าตอบกระทู้ถามที่ 506ร. เรื่อง ชาวไร่อ้อย

                   ประสบภาวะขาดทุนจากการปลูกอ้อย ของนายนิยม วรปัญญา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี ซึ่ง
                   ถามว่า ขอให้รัฐบาลช่วยเหลือชาวไร่อ้อยโดยการให้เงินส่งเสริมการปลูกอ้อยจะได้หรือไม่ ส าหรับผลผลิต

                   อ้อยซึ่งขณะนี้ตกต่ าจะขอให้รัฐบาลช่วยก าหนดราคาให้ตันละ 600 บาท และบวกความหวานโดยให้

                   กรรมการอ้อยและน้ าตาลและราษฎรตัวแทนผู้ปลูกอ้อยเข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาและประกันราคา
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141