Page 133 -
P. 133
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
13-12
ตามที่คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายก าหนดต่อไป และให้กระทรวงการคลังรับไปพิจารณาจัดหาเงิน
จ านวน 2,180 ล้านบาท ให้แก่กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายกู้ยืมเพื่อน าไปให้โรงงานน้ าตาลใช้เป็นเงินทุน
หมุนเวียนจ่ายค่าอ้อยขั้นต้นฤดู
วันที่ 8 มกราคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ
คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 ที่มีมติเห็นชอบตามมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 8/2544 เรื่อง
การด าเนินการตามมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 6/2544 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2544 เรื่อง ขอ
ผ่อนผันการเลี้ยงกุ้งกุลาด าระบบปิดในพื้นที่น้ าจืดเฉพาะแห่ง ตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดล้อมเสนอ และที่เสนอเพิ่มเติม (ที่ประชุมมีมติให้ก าหนดเขตส่งเสริมการเลี้ยงกุ้งกุลาด าให้ชัดเจน ตลอดจน
ส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจจัดหาสิ่งอ านวยความสะดวกด้านโครงสร้างพื้นฐานและแหล่งเงินทุน และการแก้ไข
ปัญหาการขาดแคลนพันธุ์กุ้ง กับให้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในระยะยาวเกี่ยวกับการเลี้ยงกุ้งกุลาด าอย่างยั่งยืน
โดยให้ค านึงถึงทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ปัจจัยการผลิต รวมทั้งการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์กุ้ง และเปลี่ยน
หน่วยงานหลักจากกระทรวงมหาดไทย เป็นจังหวัด และเพิ่มส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นหน่วยงาน
สนับสนุน) และให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ รับประเด็นอภิปราย (เกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนเพื่อเป็นค่าประกัน
ความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม ไม่ควรใช้เงินงบประมาณ
วันที่ 8 มกราคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการแก้ไขปัญหาราคาพืชเกษตรตกต่ า โดยให้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับไปพิจารณาร่วมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กรณี
ปัญหาการด าเนินการตามโครงการรับจ าน าข้าว ที่อ าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีโรงสีเข้าร่วม
โครงการเพียงแห่งเดียว และเกษตรกรไม่สามารถจ าน าข้าวเปลือกได้ รวมทั้งพิจารณาแก้ไขปัญหากรณีราคา
ข้าวโพดในประเทศมีราคาตกต่ า ทั้งๆ ที่ปริมาณผลผลิตข้าวโพดในแต่ละปีมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
ตลาด และยังต้องน าเข้าจากต่างประเทศเพิ่มเติมมาโดยตลอด และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร ฯ
รับไปพิจารณาแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการด าเนินการโครงการแทรกแซงตลาดยางพารา โดยเฉพาะปัญหาเรื่อง
จุดรับซื้อยางมีไม่เพียงพอและไม่สะดวก ท าให้มีพ่อค้าคนกลางฉวยโอกาสรับซื้อยางจากเกษตรกรในราคาต่ า
และน ามาขายในราคาแทรกแซง ส าหรับปัญหาการประพฤติมิชอบในโครงการแทรกแซงตลาดยางพารา ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีได้มีมติมอบให้กระทรวงเกษตรฯ รับไปตรวจสอบหรือสอบสวนการด าเนินงานและข้อเท็จจริง
ในการซื้อขายยางพาราตามโครงการฯ ขององค์การสวนยางที่ผ่านมาว่ามีความถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้อง
กับนโยบายรัฐบาลที่ต้องการสร้างเสถียรภาพราคา
วันที่ 22 มกราคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
5 ธันวาคม 2544 เรื่องค่าใช้จ่ายส ารองเพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่ให้ยกเลิกกรอบวงเงิน 12,000 ล้านบาท
ของค่าใช้จ่ายส ารอง ฯ ที่กันไว้ส าหรับการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ า โดยให้คงกรอบวงเงิน
12,000ล้านบาท ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2544 และ 11 ธันวาคม 2544
ไว้ตามเดิม เพื่อกันไว้ส าหรับการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ า และมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี
(นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) เป็นผู้ดูแลในการจัดสรรเงินดังกล่าว