Page 128 -
P. 128

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                        13-7



                           วันที่ 20 พฤศจิกายน 2544  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการก าหนดนโยบายและมาตรการเพื่อ

                   รองรับสถานการณ์มันส าปะหลัง ปี 2544/45 โดยในส่วนของนโยบาย ได้แก่ การสร้างเสถียรภาพราคามัน
                   ส าปะหลังให้มั่นคงตลอดปี และสร้างก าไรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง รักษาส่วนแบ่งตลาดเดิม เร่งหาตลาด

                   ใหม่  และด าเนินนโยบายตลาดในเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้า  ตลอดจนปรับปรุงคุณภาพ

                   ผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ และพัฒนาผลิตภัณฑ์
                   ใหม่ๆ     เพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์ ส าหรับมาตรการ ได้แก่  การสนับสนุนและส่งเสริมการขยายตลาดใน

                   ต่างประเทศ การจัดตั้งศูนย์ประสานงานด าเนินการโครงการเชื่อมการซื้อขายระหว่างผู้ผลิตและผู้ใช้มันเส้น
                   คุณภาพดี และศูนย์ตรวจสอบและรับรองคุณภาพมันเส้น/มันอัดเม็ด และแป้งมันเพื่อให้สอดคล้องกับความ

                   ต้องการของตลาด สนับสนุนการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จัดหาสิ่งอ านวยความสะดวกให้แก่ลานมันเพื่อพัฒนา

                   คุณภาพผลิตภัณฑ์ รวมทั้งจัดหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ าจากสถาบันการเงิน การประชาสัมพันธ์จุดเด่นของ
                   ผลิตภัณฑ์มันส าปะหลังทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ รักษาระดับราคาหัวมันส าปะหลังสดให้สูงกว่า

                   ต้นทุนการผลิตของเกษตรกร และกวดขัน
                           วันที่ 20 พฤศจิกายน 2544 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงสาธารณสุขรายงานผลการ

                   ประชุมสัมมนาเรื่อง  "ระบบความปลอดภัยด้านอาหารแห่งชาติ" เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2544  โดยมีผู้เข้าร่วม

                   ประชุมจาก 21 หน่วยงานใน 5 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                   กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงมหาดไทย  รวมทั้งผู้แทนของกรุงเทพมหานครและ

                   เทศบาลนครนนทบุรี ซึ่งสาระส าคัญของการประชุมฯ ที่ประชุมได้เน้นในเรื่องมาตรฐานอาหารที่คนไทยบริโภค

                   ต้องเป็นมาตรฐานเดียวกับที่นานาชาติใช้ และวิธีการท างานที่มุ่งป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยของ
                   อาหารที่เกิดขึ้นในทุกๆ ช่วงให้ครบวงจรตลอดทั้งห่วงโซ่อาหาร (food  chain)  โดยการดูแลตลอดทั้งห่วงโซ่

                   อาหารมากกว่าที่จะตรวจสอบเพียงผลิตภัณฑ์ที่ส าเร็จที่ปลายทาง กับเห็นชอบให้ทุกหน่วยงานประสานงานกัน

                   ตั้งแต่หารือเรื่องแก้ไขกฎหมายใดๆ  ที่ซ้ าซ้อนเป็นอุปสรรค ท างานร่วมกันอย่างสอดคล้องเป็นระบบ  และ
                   รับผิดชอบดูแลปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงใดของห่วงโซ่อาหารอย่างเต็มที่  โดยมีความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ

                   เข้ามาร่วมให้ครบวงจรและร่วมมือกันท าโครงการที่เป็นปัญหาเร่งด่วน  โดยมอบหมายหน่วยงานหนึ่งเป็น
                   ผู้รับผิดชอบ

                           วันที่ 20 พฤศจิกายน 2544  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงพาณิชย์รายงานเรื่อง

                   การพัฒนาพันธุ์ข้าวหอมมะลิของนักวิจัยอเมริกัน  ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ได้ก าหนดแนวทางด าเนินการ
                   โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้มีหนังสือถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์  รัฐมนตรีว่าการ

                   กระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ และเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจ าประเทศไทย เพื่อชี้แจงกรณีการท าการวิจัย
                   พันธุ์ข้าวหอมมะลิดังกล่าว  นอกจากเป็นการกระท าที่ไม่ถูกต้องแล้ว ยังเป็นการปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็น

                   ธรรม เพราะจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและการส่งออกข้าวของไทยโดยตรง และได้มอบหมายให้

                   ส านักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.  ติดตามความคืบหน้าของผลการวิจัยและ
                   กระบวนการในการจดทะเบียนพันธุ์พืชของนักวิจัยดังกล่าวอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ซึ่งหากเจ้าของงานวิจัย
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133