Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                        13-2



                   ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดผู้บริโภคทั้ง

                   ในและต่างประเทศ
                                               (1.2)  เร่งรัดการพัฒนาการแปรรูปสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรม

                   การเกษตรในรูปอาหารและไม่ใช่อาหารที่มีศักยภาพในการขยายสัดส่วนการตลาดและการส่งออก โดย

                   น าเอาเทคโนโลยี ผลการวิจัยและพัฒนา มาใช้ในเชิงพาณิชย์เพื่อการเพิ่มมูลค่าของปัจจัยและกระบวนการ
                   ผลิตสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกอย่างต่อเนื่อง

                                               (1.3)  เพิ่มขีดความสามารถ ทักษะของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
                   ให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการได้ สามารถตัดสินใจและวางแผนการผลิตเชื่อมโยงกับ

                   การตลาด การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ มีการใช้ระบบข้อมูลข่าวสารด้านการผลิต ราคาสินค้า และ

                   การตลาดเป็นเครื่องมือในการท าธุรกิจ รวมทั้งการแปรรูปสินค้าและการตลาด โดยใช้หลักสหกรณ์
                                                (1.4)  ผลิตและพัฒนาบุคลากรในภาคการผลิตที่แท้จริง เพื่อให้ทันกับ

                   การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตและตลาดแรงงาน โดยพัฒนากลไกและสร้างเครือข่ายความร่วมมือให้เกิด
                   ความเชื่อมโยงระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันฝึกอบรม สถาบันเฉพาะทาง และสถานประกอบการใน

                   ภาคการผลิตต่างๆ

                                       (2) เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการตลาดและการกระจายผลผลิตไปสู่ตลาด และ
                   เตรียมความพร้อมเพื่อแสวงโอกาสจากการค้าเสรี โดย

                                               (2.1) ปรับปรุงตลาดสินค้าเกษตรทุกระดับให้มีสิ่งอ านวยความสะดวก

                   เพื่อเพิ่มมูลค่าและลดต้นทุนการผลิตอย่างเพียงพอ ให้สามารถสร้างกลไกเชื่อมโยงระหว่างตลาดท้องถิ่น
                   ตลาดกลางสินค้าเกษตรในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ และตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าให้มีขีด

                   ความสามารถในการกระจายผลผลิตไปยังผู้บริโภคได้อย่างกว้างขวาง

                                       (3)  สร้างความสมดุลระหว่างการผลิตกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
                   สิ่งแวดล้อม โดย

                                               (3.1) ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนโดยให้เกษตรกร
                   เรียนรู้จากประสบการณ์ของเกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร  และได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ในหลายๆ รูปแบบ

                                               (3.2)  ขยายการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อสร้างดุลยภาพของการใช้

                   ทรัพยากรธรรมชาติ และเสริมสร้างขีดความสามารถการเพิ่มผลผลิต เพื่อให้การเกษตรยั่งยืนอยู่รอดได้ในเชิง
                   พาณิชย์ โดยให้มีการจ าแนกประเภทกิจกรรมทางการเกษตรแบบยั่งยืนที่มีโอกาสในการพัฒนาสูง ให้

                   เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และช่องทางการตลาดที่แตกต่างกัน
                                               (3.3)  สร้างระบบเครือข่ายให้สามารถเชื่อมโยงการเกษตรแบบยั่งยืนและ

                   ระบบเศรษฐกิจชุมชน พร้อมทั้งพิจารณาจัดท ามาตรฐานการผลิตและคุณภาพสินค้าเกษตรแบบยั่งยืน ควบคู่

                   ไปกับการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ผลิตและผู้บริโภคให้ตระหนักในเรื่องคุณภาพของ
                   สินค้าเกษตรปลอดสารพิษ” (ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2544: 83-87)
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128