Page 142 -
P. 142

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      13-21



                   นอกจากนี้  ยังได้มีการส ารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนยาง 3 ประเทศ  และการจัดตั้ง

                   เมืองยางจะสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่เพียงใด  รวมทั้งความคาดหมายเกี่ยวกับราคายาง  ส าหรับ
                   ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการที่ต้องการให้รัฐบาลด าเนินการ ประชาชนในกรุงเทพฯ  ต้องการให้รัฐบาล

                   ด าเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง

                           วันที่ 15 ตุลาคม 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่
                   ประสบภัยธรรมชาติในปี พ.ศ. 2545 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ด าเนินการต่อไปได้ ได้แก่ กรณี

                   เกษตรกรลูกค้าประสบภัยอย่างร้ายแรงจนสูญเสียชีวิต และไม่สามารถช าระหนี้ให้แก่ธนาคารเพื่อการเกษตร
                   และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)  ได้อย่างแน่นอน ให้จ าหน่ายลูกหนี้ดังกล่าวออกจากบัญชีเป็นหนี้สูญ โดย

                   ธ.ก.ส. รับภาระเอง กรณีเกษตรกรลูกค้ามีหนี้เงินกู้เดิมเป็นหนี้เงินกู้เพื่อท าการผลิตและ/หรือเพื่อการลงทุน

                   (ไม่รวมเงินกู้โครงการตามนโยบายของรัฐบาล) และประสบความเสียหายอย่างร้ายแรง  ให้เลื่อนก าหนด
                   ช าระต้นเงินกู้ในปีบัญชี พ.ศ. 2545 ออกไปอีก 1 ปี และงดคิดดอกเบี้ยเงินกู้เป็นระยะเวลา 3 ปี รวมทั้งการ

                   ให้เงินกู้แก่เกษตรกรลูกค้าที่ประสงค์ขอกู้เงินสัญญาใหม่  เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในวงเงินรายละไม่เกิน
                   30,000 บาท ก าหนดช าระคืนเป็นรายปี  ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี ทั้งนี้ให้

                   กระทรวงการคลัง  (ธ.ก.ส.) รับความเห็นของกระทรวงเกษตรฯ (ที่เห็นควรให้ขยายมาตรการดังกล่าว  ให้

                   ครอบคลุมถึงเกษตรกรที่เป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกรอื่น (สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร) รวมถึงเกษตรกรรายย่อย
                           วันที่ 12 พฤศจิกายน 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและอนุมัติมาตรการรักษาเสถียรภาพ

                   ยางพาราของเกษตรกร  ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ โดยคณะรัฐมนตรีมีความเห็นเพิ่มเติม

                   (เกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนยางพาราระหว่างประเทศ จ ากัด (ITRCo)  ซึ่งประเทศผู้ถือหุ้นในบริษัท
                   ITRCo อีกสองประเทศ คือ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย จะต้องด าเนินการจัดตั้งบริษัท ITRCo ของประเทศ

                   ตน (Branch)  ขึ้น  โดยจัดให้มีรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กร และการบริหารจัดการในท านองเดียวกับ

                   บริษัท ITRCo ที่จัดตั้งขึ้นในครั้งนี้ รวมทั้งจะต้องมีกลไกประสานและความร่วมมือระหว่างกันอย่างใกล้ชิด
                   เพื่อป้องกันการขายยางพาราตัดราคากัน จึงให้กระทรวงเกษตรฯ  รับไปประสานและเร่งรัดด าเนินการใน

                   เรื่องนี้กับประเทศดังกล่าวต่อไป กับให้กระทรวงเกษตรฯ เร่งรัดด าเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
                   ส ารวจและควบคุมจ านวนพื้นที่เพาะปลูกยางพาราให้เหมาะสม เพื่อป้องกันปัญหาการขยายพื้นที่เพาะปลูก

                   และปริมาณยางพาราล้นตลาด  และให้รับความเห็นของส านักงบประมาณที่ว่า  มาตรการเพื่อสร้างความ

                   เข้มแข็งให้แก่สถาบันเกษตรกรตามที่เสนอ  เป็นมาตรการที่จะให้ประโยชน์กับเกษตรกรสังกัดสหกรณ์ของ
                   กองทุนสวนยางซึ่งมีโรงรมควันยาง

                           วันที่ 26 พฤศจิกายน 2545 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาน้ านมดิบและ
                   การบริหารจัดการโครงการอาหารเสริม(นม)  ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ และให้ด าเนินการ

                   ต่อไปได้ ทั้งนี้  คณะรัฐมนตรีเห็นว่า ข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาฯ  ดังกล่าวเป็นมาตรการ/แนวทางในการ

                   ด าเนินการแก้ไขปัญหาน้ านมดิบเฉพาะหน้าเป็นการชั่วคราวเท่านั้น  จึงให้กระทรวงเกษตรฯ ติดตามและ
                   ประเมินผลการด าเนินการ  ตลอดจนปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น  เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการก าหนดแนวทางการ
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147