Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          13



                                 พาหะแพรโรคชุกชุม (  ไมควรใชยานี้ในโครีดนม   เพราะจะมีผลทําใหนมไมผานการ

                                 ทดสอบ  Delvo  test เนื่องจากมียาปนเปอนในน้ํานม )
                   ผลกระทบตอการเลี้ยงโคทดแทนเมื่อใหอาหารมากเกินความตองการ( Overfeeding )


                          1.ใหอาหารที่มีพลังงานสูงเกินไปเพื่อเรงการเจริญเติบโต    ทําใหเกิดผลเสียหายตอการเจริญและ
                          พัฒนาตอมน้ํานมทําใหระบบเตานมมี  เซลสรางน้ํานม ปริมาณนอยกวา เซลไขมัน

                          2.ควรหลีกเลี่ยงการเรงการเจริญเติบโตในโคสาว               โดยเฉพาะในระยะกอนวัยเจริญพันธุ (

                          Pre-puberty )  คืออายุ  3  -  9  เดือนไมควรใหโคเจริญเติบโตเกิน  1,000  กรัม / วัน

                   ลักษณะของปญหาการเลี้ยงโคทดแทนของเกษตรกรในปจจุบัน

                          ปญหาการเลี้ยงโคทดแทนของเกษตรกรสวนใหญ          จะมีปญหาหลังจากลูกโคหยานมคืออายุ

                   ประมาณ  3 – 12  เดือน ซึ่งเปนระยะสําคัญที่ระบบเตานมกําลังมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว   แตเกษตรกรก็มัก
                   ใหอาหารขนทั้งคุณภาพและปริมาณตามเพื่อนบานทั้ง ๆ ที่อาหารหยาบอาจมีคุณภาพต่ํากวา     ทําใหโคขาด

                   โภชนะอาหารทั้งโปรตีน  และ  พลังงาน   สงผลใหลูกโคมีน้ําหนักและอัตราการเจริญเติบโตต่ํา     ระบบ

                   เตานมชะงักการเจริญและพัฒนา      ลักษณะโครุนเมื่อดูจากภายนอกคือ   ผอมบาง   ผิวหนังหยาบกราน
                   ขนยาวหยอง   ระบบเตานมเหี่ยวติดอยูกับพื้นทอง และคะแนนความสมบูรณของรางกายนอยกวา  2  ตาม

                   รูปภาพที่  2 - 1      สวนโคหลังหยานมที่มีการใหอาหารขนอยางเหมาะสมสอดคลองกับคุณภาพอาหาร

                   หยาบ      ประกอบกับมีการจัดกลุมโครุนตามขนาดและอายุใกลเคียงกันเลี้ยงอยูในคอกเดียวกันจะทําใหโค

                   มีน้ําหนักและการเจริญเติบโตทั้งรางกายและระบบเตานม  เมื่อดูจากลักษณะภายนอกจะเห็นผิวหนังและขน
                   เปนมัน    ระบบเตานมมีการพัฒนาเห็นเปนถุงหยอนอยูใตพื้นทอง    คะแนนความสมบูรณของรางกายอยู

                   ระหวาง  2.50 -  3.0  ตามรูปภาพที่  2 - 2















                   รูปภาพที่ 2 – 1  โครุนอายุประมาณ  9  เดือนที่ขาดทั้ง             รูปภาพที่ 2 – 2    โครุนอายุประมาณ  12  เดือนที่

                                           พลังงานและโปรตีนทําให ซูบ  ขนหยอง                                              มีการใหอาหารครบทั้งโปรตีน
                                           คะแนนรางกาย < 2.0  ในระยะที่เตานม                                                และพลังงาน  มีการเจริญเติบโต

                                           กําลังพัฒนาอยางรวดเร็ว                                                                      เหมาะสมทั้งน้ําหนักและความสูง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28