Page 21 -
P. 21
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
11
ผลผลิตน้ํานมเมื่อโคตัวนี้เติบโตและคลอดลูกเปนแมโครีดนมในเวลาตอมา ปญหาสวนใหญของเกษตรกร
มักเกิดขึ้นในระยะนี้ โดยที่โคหลังหยานมเกษตรกรมักปลอยเลี้ยงกับโครุนโคสาวที่อายุมากกวาทําใหโคที่
หยานมกินอาหารขนไมทัน หรือ เกษตรกรมักไมใหอาหารขน หรือใหอาหารขนจํานวนนอย ทําใหโคระยะ
นี้เติบโตชา ขนหยอง น้ําหนักลด เพราะโครุนในระยะนี้ถึงแมกระเพาะหมัก ( Rumen ) จะมีการพัฒนา
สามารถยอยอาหารหยาบไดแลว แตความจุของกระเพาะยังจํากัด จําเปนตองไดรับอาหารขนอยางพอเพียง
เพื่อการเจริญเติบโตของรางกาย ( Whole body growth ) และพัฒนาระบบเตานมซึ่งมีการพัฒนาอยาง
รวดเร็วในระยะนี้
ระยะวัยเจริญพันธุ ( อายุ 10 – 14 เดือน )
โคสาวในระยะนี้ตอมน้ํานมมีการเจริญและพัฒนา เทา ๆ กับการเจริญเติบโตของรางกายจนกระทั่ง
โคสาวถึงอายุผสมพันธุ และเมื่อโคสาวไดรับการผสมพันธุและตั้งทองตอมน้ํานมจะมีการเจริญและ
พัฒนาเร็วกวาการเจริญเติบโตของรายกายตามอิทธิพลของฮอรโมนตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอีกครั้ง
หนึ่ง โดยมีการพัฒนาของเตานมอยางตอเนื่องอยางสมบูรณและตอมน้ํานมมีการสรางนมน้ําเหลือง
จนกระทั่งโคสาวคลอดลูก โคสาวในระยะตั้งทองจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่เหมาะสมเฉลี่ยประมาณ
650 กรัม / วัน ซึ่งถาหากมีการเลี้ยงโคทดแทนใหเจริญเติบโตไดอยางสม่ําเสมอตั้งแตลูกโคก็จะทําให
น้ําหนักโคสาวเมื่อคลอดลูกตัวแรกประมาณ 550 – 560 กิโลกรัมสําหรับโคพันธุแทโฮลสไตนฟรีเชี่ยน
หรือ ประมาณ 450 – 500 กิโลกรัม ในโคพันธุไทยฟรีเชี่ยน
ผลกระทบตอการเลี้ยงโคทดแทนเมื่อใหอาหารนอยกวาความตองการ(Underfeeding )
1. โคสาวมีการเจริญเติบโตชา
2. โคสาวเขาสูวัยเจริญพันธุเมื่ออายุมากกวาปกติ หรือ ผสมพันธุที่น้ําหนักนอย
3. โคสาวแสดงอาการเปนสัดไมชัดเจน ทําใหยากตอการสังเกตการเปนสัด
4. โคสาวทองเมื่อคลอดลูกจะใหผลผลิตน้ํานมนอยกวาปกติ น้ําหนักและคะแนนความสมบูรณ
รางกายลดลงอยางรวดเร็ว มักมีปญหาระบบสืบพันธุตามมาทําใหผสมติดยาก
อยางไรก็ตามปญหาที่เกิดกับโคทดแทนทั้ง 4 ขอสามารถแบงออกเปน 2 สาเหตุหลัก ๆ ดังนี้
1. ปญหาจากอาหารและการใหอาหารไมพอเพียง
ปญหาการใหอาหารไมพอเพียง เปนปญหาที่สําคัญอันดับหนึ่งที่มีผลกระทบตอโค
ทดแทนขางตน สาเหตุการใหอาหารไมพอเพียงอันเนื่องมาจากความผันแปรของอาหาร
หยาบ เชน คุณภาพและปริมาณของหญาสด พืชหมัก หญาแหง ตลอดจนวัสดุเหลือใช
จากการเกษตรและโรงงาน คุณภาพไมสม่ําเสมอและมักไมพอเพียงรวมทั้งการใหอาหาร
ขนทั้งคุณภาพและปริมาณ ไมสอดคลองและพอเพียงกับคุณภาพและปริมาณอาหารหยาบ
ที่เปลี่ยนไปแตเกษตรกรก็ยังคงใหอาหารขนสูตรเดิมในปริมาณเทาเดิม ซึ่งลวนแตมีผล
ทําใหการเจริญเติบโตของโคทดแทนต่ําลง สวนอีกปญหาเกิดจากการเลือกใชปริมาณ