Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          10



                                                       บทที่  2


                                                การผลิตโคนมทดแทน





                   เปาหมายของการเลี้ยงโคทดแทน

                          1.   ลูกโคมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมในระยะกินนม    มีสุขภาพสมบูรณ  แข็งแรง   สามารถหยา

                   นมไดเมื่อลูกโคอายุประมาณ  2  -  3  เดือน
                          2.  ลูกโคหลังหยานมมีการเจริญเติบโตทั้งน้ําหนักและความสูงอยางเหมาะสมสามารถผสมพันธุ

                   ไดเมื่ออายุประมาณ  15  -  18  เดือน  หรือมีอายุคลอดลูกตัวแรกประมาณ  24 - 27  เดือน และใหผลผลิต

                   น้ํานมไดตามความสามารถทางพันธุกรรม

                   การเจริญเติบโตและการพัฒนาระบบเตานมของโคนมทดแทนระยะตาง ๆ

                          โคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนมีอายุเริ่มเขาสูวัยสาว หรือ วัยเจริญพันธุ ( Puberty ) เมื่ออายุประมาณ

                   8 – 10 เดือน   แตโคสาวควรเริ่มผสมพันธุเมื่อเปนสัดครั้งที่  3  หรือ  4  ( ในกรณีที่สังเกตการเปนสัดอยาง

                   สม่ําเสมอ ) ซึ่งจะมีน้ําหนักประมาณประมาณ  50 – 60  %  ของน้ําหนักเมื่อโตเต็มที่   ซึ่งประมาณ  300
                   กิโลกรัมสําหรับโคนมพันธุ  ไทยฟรีเชี่ยน ( Thai  Friesian )   หรือ ประมาณ  350  กิโลกรัม สําหรับโคนม

                   พันธุแท  หรือ โคไทยฟรีเชี่ยนที่มีเลือดสูงมากกวา  90  %   ซึ่งถาหากโคสาวมีการเลี้ยงดูและใหอาหารอยาง

                   ถูกตองก็จะมีอายุประมาณ  15  -  18  เดือน    อยางไรก็ตามเกษตรกรสวนใหญมักมีการเลี้ยงโคทดแทนโดย
                   ใหอาหารต่ํากวาความตองการอาจเนื่องจากขาดความรูความเขาใจ  หรือ ใหความสําคัญในการใหอาหารขน

                   แกโครีดนมมากกวาเพราะมีน้ํานมซึ่งเปนรายไดหลักของฟารม    ทําใหโคทดแทนไดแกลูกโค  โครุน  โค

                   สาวมีขนาดและความสูงต่ํากวามาตรฐานสงผลทําใหผสมพันธุไดชาและเมื่อคลอดลูกเปนแมโคก็ใหผลผลิต
                   น้ํานมต่ํากวาความสามารถทางพันธุกรรมที่ควรจะเปน      ดังนั้นเกษตรกรจึงควรหันมาใหความสนใจกับ

                   การเลี้ยงโคนมทดแทนโดยเฉพาะการเจริญเติบโต (  น้ําหนักและความสูง )  ตลอดจนการพัฒนาของระบบ

                   เตานมในแตละระยะเพื่อใหไดโคสาวทดแทนที่มีคุณภาพดังนี้

                          ระยะลูกโค  ( อายุแรกเกิด  -  3  เดือน )
                          ในระยะนี้การเจริญเติบโตของรางกาย  และ  การพัฒนาระบบเตานม  ของลูกโคมีการเจริญเติบโต

                   ใกลเคียงกัน
                          ระยะกอนวัยเจริญพันธุ ( อายุ 3 – 9  เดือน )

                          โครุนในระยะนี้มีความสําคัญมากตอความกาวหนาของผลผลิตน้ํานมในฟารมในปถัด  ๆ  ไป

                   นอกเหนือจากการปรับปรุงผลผลิตน้ํานมจากพันธุกรรม  เนื่องจากในชวงนี้ลูกโคจะมีการพัฒนาของระบบ

                   เตานมเร็วกวาการเจริญเติบโตของรางกาย  ประมาณ  1.8  ถึง  3.5  เทา  ดังนั้นการเรงอาหาร ( การขุนโคให

                   อวน )  หรือ การใหอาหารไมพอ ( เลี้ยงโคใหแคระแกรน ) ในระยะนี้จะมีความสําคัญอยางมากตอปริมาณ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25