Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                           5



                   ตามลําดับซึ่งเปนคาเฉลี่ยจากแมโคที่รีดนมไดคิดเปน   75  %   ,  52  %    และ   38  %       ตามลําดับ ( สหัท

                   ยา และ คณะ 2545 )  แตในสวนของเกษตรกรที่เลี้ยงโคนม AFS 3 สวนใหญใชน้ําเชื้อ HF 100 %ผสมพันธุ
                   เพื่อยกระดับสายเลือดเพื่อใหลูกโคที่ผลิตไดเปนโคนมพันธุ ไทยฟรีเชี่ยน ตอไป















                     รูปที่ 1- 1 โคนมพันธุโฮลสไตน  สีขาวแดง                รูปที่ 1 - 2  โคนมพันธุโฮลสไตนสี ขาว ดํา













                          รูปที่ 1 - 3 โคนมพันธุซาฮิวาล                       รูปที่ 1- 4  โคนมพันธุ ไทยฟรีเชี่ยน

                   จํานวนโคนมทดแทนระยะตาง ๆ ในฟารม ( Herd  Composition )

                          สวนประกอบของโคนมระยะตาง  ๆ     ในฝูงโคที่เหมาะสมของเกษตรกรควรมีจํานวนตามฝูง

                   มาตรฐาน ( Ideal  Herd )  เพื่อใหแมโคที่คัดออกจากฝูง  และ โคทดแทน หมุนเวียนแทนกันไดอยางสมดุลย

                          ฝูงมาตรฐาน (Ideal  Herd )  หมายถึงจํานวนโคนมในฟารมที่มีแมโคและโคทดแทนไดสัดสวน
                   กัน    จะทําใหเกษตรกรมีรายไดจากน้ํานมดิบพอเพียงสําหรับเลี้ยงโคทดแทนระยะตางๆ   และยังมีเหลือ

                   สําหรับเกษตรกรใชจายในครัวเรือน

                           แตถาในฟารมเกษตรกรมีจํานวนโคทดแทนมากเกินไป  ก็จะทําใหมีจํานวนเงินจากการขายน้ํานม

                   ดิบเหลือนอยในแตละเดือน   ( เปรียบเสมือนขาดทุน หรือ กําไรนอยแตจริง ๆแลวเงินสะสมอยูในตัว โค
                   ทดแทนที่เติบโตขึ้น )   สวนในทางตรงขามถามีจํานวนแมโคมาก  แตมีจํานวนโคทดแทนนอย      ก็จะทํา

                   ใหฟารมนั้น ๆ มีเงินจากการขายน้ํานมดิบเหลือจํานวนมากในแตละเดือน   แตในปตอ ๆ ไปถาไมมีการซื้อ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20