Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                           3



                   ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมไดพอสมควร      นอกจากนั้นในป  2534    ไดมีการประชุมสัมมนาเชิง

                   ปฏิบัติการกําหนดนโยบายแผนพัฒนาการปรับปรุงพันธุโคเนื้อโคนมของประเทศ     ซึ่งที่ประชุมไดสรุปไว
                   วา  พันธุโคนมที่จะเลี้ยงเห็นควรใหใชโคนมพันธุ  ขาว ดํา หรือ พันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนเปนหลักในการ

                   ปรับปรุงพันธุโดยไดแบงเกษตรกรออกเปน  2  กลุม คือ  กลุมที่เริ่มเลี้ยงโคนมใหมเห็นควรใหเลี้ยงโคนม

                   ลูกผสม ขาว ดํา   50 – 75 %  และกลุมเกษตรกรที่มีประสบการณใหเลี้ยงโคนมพันธุ  ขาว ดํา   ยกระดับ
                   สายเลือดขึ้นไปเรื่อย ๆจนเรียกวาโคนม พันธุ ไทยฟรีเชี่ยน ( Thai  Friesian )

                   โคนมพันธุโฮลสไตน

                          เปนโคนมพันธุที่กรมปศุสัตวไดคัดเลือกใหเปนพันธุหลักในการปรับปรุงพันธุโคนมของประเทศ

                   โคพันธุนี้มีถิ่นกําเนิดในประเทศเนเธอรแลนด     ซึ่งอยูในทวีปยุโรป   สําหรับโคพันธุนี้ในทวีปยุโรปมัก

                   นิยมเรียกวาพันธุฟรีเชี่ยน ( Friesian )   ซึ่งชื่อนี้สอดคลองกับเมืองฟรีแลนด ( Friesland )    ซึ่งอยูทางตอน
                   เหนือของเนเธอรแลนด    แตในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา  และ  แคนาดา

                   เรียกโคนมพันธุนี้วาพันธุโฮลสไตน (  Holstein )   ซึ่งคาดวาเรียกตามชื่อรัฐ   Holstein   ซึ่งอยูในประเทศ

                   เยอรมัน       แตสําหรับประเทศไทยรวมทั้งหลาย ๆ ประเทศไดมีการนําเขาน้ําเชื้อและตัวโคจากประเทศใน
                   ยุโรป  ,  สหรัฐอเมริกา และ แคนาดา  จึงมีการเรียกโคพันธุนี้รวมวาพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน ( Holstein

                   Friesian )   โคพันธุนี้มีขนาดใหญเพศผูหนัก 800 – 1,000  กิโลกรัม  เพศเมียน้ําหนัก  500 – 800  กิโลกรัม

                   ผลิตน้ํานมเฉลี่ย  6,000 – 7,000  กิโลกรัม ตอ ระยะการใหนม    มีนิสัยคอนขางเชื่อง     รีดนมงายไมเตะ

                   หรือ อั้นน้ํานม
                          โคนมพันธุโฮลสไตน    สวนใหญมีสีขาวดํา   โดยสีขาว หรือ ดํา จะมากหรือนอยกวาก็ได  จึงมัก

                   เรียกชื่องายๆ วาโคนมพันธุขาวดํา ( Black & White  Holstein )  แตจริง ๆ แลวโคนมพันธุโฮลสไตน  ยังมีสี

                   ขาวแดงอีกกลุมหนึ่งซึ่งมักเรียกวา     Red & White Holstein            แตลักษณะสีขาวดําเปนลักษณะยีนเดน
                   ( Dominant  Gene )  สวนลักษณะสีขาวแดงเปนยีนดอย ( Recessive  Gene )   ซึ่งเมื่อใชน้ําเชื้อขาวดํา ผสม

                   กับ แมโคขาวแดง   ลูกที่ไดสมมุติชื่อ  จารุณี จะเปนสีขาวดําอยางเดียว  แตก็มียีนขาวแดงซอนอยู      ตอมา

                   ถาใชน้ําเชื้อจากพอขาวแดงมาผสมกับแมโคจารุณี   ลูกที่ไดก็มีโอกาสที่จะไดทั้งสีขาวแดง   หรือ  สีขาวดํา
                   ขึ้นกับโอกาสที่ไขและน้ําเชื้อสีขาวดํา หรือ สีขาวแดงจะมาผสมกัน

                   พันธุโคนมที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย


                          1.  พันธุไทยฟรีเชี่ยน ( Thai  Friesian )   หรือเกษตรกรทั่วไปมักเรียกวา  “ โคเลือดสูง ”   หมายถึง
                   โคนมลูกผสมที่มีเลือดโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนมากกวา  75   %    ปจจุบันเกษตรกรเลี้ยงกันมากใน

                   จังหวัดสระบุรี  ,  นครราชสีมา    ,  ลพบุรี  และ ราชบุรี รวมทั้งจังหวัดอื่น ๆ    โคพันธุนี้ใหผลผลิตน้ํานม

                   คอนขางสูง       จากขอมูลสําหรับฟารมที่มีการจัดการดานอาหารอยางเหมาะสมใหผลผลิตน้ํานมเฉลี่ย

                   ประมาณ  4,000 – 5,000    กิโลกรัม ตอ ระยะการใหนม   หรือ ผลผลิตน้ํานมในระยะใหนมสูง ( peak )
                   หลังคลอดไมต่ํากวา  15  กิโลกรัม     โคพันธุนี้เหมาะสําหรับเกษตรกรที่มีประสบการณในการเลี้ยงโคนม
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18