Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                           4



                   มาแลว     สําหรับในสวนของกรมปศุสัตวไดมีการเลี้ยงโคนมพันธุไทยฟรีเชี่ยน  ที่ ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุ

                   สัตวเชียงใหม  ,  ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวสุราษฎรธานี ,  ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวยะลา ,   ศูนยวิจัย
                   และบํารุงพันธุสัตวทับกวาง  ( เริ่มเลี้ยงในป  2545 แทนโคพันธุ เอ เอฟ เอส )  ,  สถานีวิจัยทดสอบพันธุสัตวปาก

                   ชอง   ,   สถานีวิจัยทดสอบพันธุสัตวสกลนคร  ,   สถานีวิจัยทดสอบพันธุสัตวสระแกวและศูนยวิจัยและ

                   ถายทอดเทคโนโลยีจันทบุรี
                          2.   พันธุ ที เอ็ม แซ็ด ( Thai  Milking  Zebu )  หรือเกษตรกรทั่วไปมักเรียกวา  “โคเลือด 75 ”

                   หมายถึง โคนมลูกผสมที่มีเลือดโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน  75  %  สวนสายเลือดที่เหลือ  25  % เปนโค

                   พันธุซีบู  โคพันธุนี้เหมาะสําหรับเกษตรกรรายใหม    กลุมที่ไดมีการผสมพันธุและคัดเลือกแลวใหผลผลิต

                   น้ํานมเฉลี่ยประมาณ   3,000 – 4,000   กิโลกรัม ตอ ระยะการใหนม  ในสวนของกรมปศุสัตวไดมีการเลี้ยง
                   และศึกษาโคนมพันธุนี้  ที่ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวลําพญากลาง    จังหวัดนครราชสีมา

                          3.   พันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน  ( Holstein  Friesian )   เปนโคนมพันธุแทที่เคยนําเขามาเลี้ยงใน

                   ประเทศไทย     ปจจุบันเปนลูกหลานของแมโคที่เคยนําเขาจากประเทศ    สหรัฐอเมริกา   ,   แคนาดา   ,
                   ออสเตรเลีย   , นิวซีแลนด  และ อิสราเอล   ซึ่งฟารมเอกชนขนาดกลาง   ขนาดใหญ หรือ เกษตรกรสวน

                   หนึ่งยังคงสายเลือดพันธุแทไว       สําหรับกรมปศุสัตวไดเคยนําเขาโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนจาก

                   ประเทศแคนาดา   โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางการจัดการฟารมโคนมที่ใหผลผลิตสูงภายใตสภาพ
                   อากาศรอนชื้น  เมื่อวันที่   15  กันยายน  2533  จํานวน   110  ตัว เปนโคสาวทอง  และ โคสาวรอผสมพันธุ

                   นํามาเลี้ยงที่ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวเชียงใหม ( แมหยวก )  ผลการดําเนินการเลี้ยงระหวางป   2533  -

                   2537   พบวาโคนมใหผลผลิตน้ํานมเฉลี่ยในระยะการใหนมครั้งที่  1  เทากับ   5,668   กิโลกรัม  ,   ระยะการ

                   ใหนมครั้งที่   2  เทากับ  6,875  กิโลกรัม  และ   ระยะการใหนมครั้งที่   3  เทากับ       7,514  กิโลกรัม  ( สม
                   เพชร  และ คณะ 2537 )    สวนโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนที่เกิดในประเทศไทยซึ่งเปนลูกหลานของโค

                   นมพันธุแทที่นําเขาจากประเทศออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด       ซึ่งเลี้ยงในฟารมขนาดกลาง ( ประมาณ

                   100  ตัว ) และ ขนาดใหญ ( มากกวา  500  ตัว )  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   ใหผลผลิตน้ํานมเฉลี่ยรวม
                   ทุกระยะการใหนม ในป  2546 เทากับ   4,800   กิโลกรัม  และ  4,210   กิโลกรัม           ตามลําดับ ( DHI

                   รายงานประสิทธิการผลิตโคนมเกษตรกรประจําเดือน  พฤษภาคม 2546 )

                          4.  โคนมลูกผสม เอ เอฟ  เอส ( Australian  Friesian  Sahiwal )    เปนพันธุที่นําเขาจากประเทศ

                   ออสเตรเลีย   เปนโคนมลูกผสมระหวางพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน  และ พันธุซาฮิวาล  โดยมีสายเลือดโคนม
                   พันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนที่  75  % ( โค AFS  appendix 3 )  ,  62.5  % ( โค AFS  appendix 2 ) และ  56.25  %

                   ( โค AFS  appendix 1 )  สําหรับโคพันธุ  AFS  appendix 3  ซึ่งเปนโคกลุมที่นําเขามาเลี้ยงที่ศูนยวิจัยและ

                   บํารุงพันธุสัตวทับกวางเมื่อป  2536  – 2538   และผสมพันธุเพื่อผลิตโคนม  AFS appendix 2  และ AFS
                   appendix 1  ในปตอ ๆ มาพบวาใหผลผลิตน้ํานมเฉลี่ยรวมทุกระยะการใหนมของโค เอ เอฟ เอสทั้ง  3  สาย

                   พันธุไดแก AFS3 , AFS2 และ AFS1 & AFS เทากับ  2,459  กิโลกรัม ,  2,345  กิโลกรัม  และ  2,606
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19