Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                           2



                                                           บทที่  1



                                          พันธุโคนมและสัดสวนของฝูงโคในฟารม




                          โคนมจัดเปนสัตวกระเพาะรวม  หรือ  สัตวเคี้ยวเอื้อง (  Ruminant )   สามารถแบงออกไดเปน  2
                   กลุมใหญ ๆ ตามแหลงกําเนิดไดแก

                          1.  โคนมในเขตหนาว ( Bos  taurus )        เปนโคที่มีถิ่นกําเนิดในเขตหนาว  หรือ มักจะ

                   เรียกวาโคยุโรป   ลักษณะทั่วไปแนวสันหลังเรียบตรง  ไมมีโหนก    มีขนคอนขางยาว    ใบหูสั้นปลายมน

                   ตัวอยางพันธุโคนมในกลุมนี้ไดแก     พันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน  ,   พันธุบราวสวิส  ,   พันธุเจอรซี่ และ พันธุ

                   เรดเดน   เปนตน
                              ลักษณะเดนทั่วไป  เปนโคที่ใหผลผลิตน้ํานมสูง     เหมาะสําหรับเลี้ยงในเชิงธุรกิจเพื่อรีดนม

                              จําหนาย

                              ลักษณะดอยทั่วไป  ไมทนตออากาศรอน    ออนแอตอโรคแมลงในเขตรอน  โดยเฉพาะโรค
                              ที่เกี่ยวกับพยาธิในเลือดที่มีเห็บและแมลงดูดเลือดเปนพาหะนําโรค เชน โรคอะนาพลาสโมซีส

                              (Anaplasmosis )  ,  โรคไขเยี่ยวแดง  ( Babesiosis )  ,  โรคไทเลอริโอซีส ( Theileriosis ) และ

                              ทริปปาโนโซเมียซีส ( Trypanosomiasis )

                          2.  โคนมในเขตรอน ( Bos  indicus )   เปนโคที่มีถิ่นกําเนิดในเขตรอน   หรือ  มักจะเรียกวาโค

                   อินเดีย    บางครั้งมักเรียกรวม ๆ วาโคซีบู ( Zebu )  ลักษณะทั่วไปมีโหนกที่หลัง    มีเหนียงหยอนยานใตคอ
                   โครงรางมีขนาดเล็ก   ขนคอนขางสั้น   ผิวหนังคอนขางหยอนยนทําใหกระตุกไลแมลงไดดี    ตัวอยางพันธุ

                   โคในกลุมนี้ไดแก   พันธุซาฮิวาล ( Sahiwal )  , พันธุเรดซินดี้ ( Red Sindhi )  เปนตน

                              ลักษณะเดนทั่วไป  เปนโคทนทานตออากาศรอน    ตลอดจนแมลงและโรคพยาธิในเลือด

                              ลักษณะดอยทั่วไป  ผลผลิตน้ํานมต่ํา   ระยะรีดนมสั้น    อั้นนมตองใชลูกโคกระตุนจึงปลอย
                              น้ํานม    รีดนมยากมักเตะขณะรีดนม    จึงไมเหมาะสําหรับเลี้ยงในเชิงธุรกิจเพื่อรีดนมจําหนาย

                                 แตเหมาะสําหรับเลี้ยงเพื่อรีดนมกินในครัวเรือน

                          ประเทศไทยเคยนําเขาทั้งโคนมในเขตหนาว  และ  โคนมในเขตรอน    ในรูปของตัวโคและน้ําเชื้อ

                   แชแข็ง ( Frozen  semen )  เกือบทุกพันธุ      โดยนําโคนมทั้งสองกลุมมาผสมขามกันมีวัตถุประสงคเพื่อ
                   ผลิตโคนมลูกผสมที่ใหผลผลิตน้ํานมที่เหมาะสมและสามารถทนตออากาศรอนไดพอสมควรและเกษตรกร

                   เลี้ยงไดงายภายใตสภาพภูมิอากาศที่รอนชื้นแบบประเทศไทย        ซึ่งจากขอมูลการผสมพันธุและคัดเลือก

                   พันธุโคนมตลอดระยะประมาณ  40  ปจนถึงปจจุบัน         กรมปศุสัตวจึงไดคัดเลือกโคนมพันธุโฮลสไตน
                   ฟรีเชี่ยน (  Holstein  Friesian  )   เปนพันธุหลักในการปรับปรุงพันธุโคนมสําหรับประเทศไทย     ทั้งนี้

                   เนื่องจากโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนเปนพันธุที่หาไดงาย    นิยมเลี้ยงกันทั่วโลก    ผลผลิตน้ํานมสูง และ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17