Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
12
โปรตีนในอาหารขนไมพอเพียง เปนปญหาที่สําคัญควบคูกับไปกับปญหาการใหอาหาร
ไมพอเพียงขางตน ทั้งนี้เนื่องจากการใหอาหารที่มีโปรตีนไมพอเพียงจะทําใหลดการสราง
ฮอรโมนที่เรียกวา “ Growth hormone” ซึ่งจะมีผลยับยั้งการเจริญและพัฒนาของตอม
น้ํานม โดยการไปเพิ่มจํานวนไขมันในตอมน้ํานม สาเหตุหลักของปญหานี้อาจเกิดจาก
การขาดความรูความเขาใจของเจาหนาที่สงเสริม หรือ ของเกษตรกรเอง ที่ไปอานเอกสาร
ภาษาอังกฤษซึ่งจะเขียนความตองการอาหาร (Diets หรือ Ration ) ของโคสาว (Growing
heifers )วาควรมีโปรตีนประมาณ 12 – 16 % ( ตามมาตรฐาน NRC 1989 ) แต
เกษตรกร หรือเจาหนาที่สงเสริมบางคนแปรความหมายผิด โดยมักเขาใจผิดวาอาหาร
( diets หรือ ration ) ในที่นี้หมายถึงอาหารขน( Concentrates feed ) จึงมีการแนะนํา
เกษตรกรใชอาหารขนที่มีโปรตีนเพียง 12 % , 14 % หรือ 16 % ใชเลี้ยงโคหยานม หรือ
โคสาวกันอยางแพรหลายทั้ง ๆ ที่อาหารหยาบคือหญาที่มีคุณภาพต่ํา ( โปรตีนเพียง 5- 6
% ของน้ําหนักแหง ) หรือ ฟางขาว เปนตนคือเมื่อรวมโปรตีนในอาหารขนและอาหาร
หยาบแลวยังไมถึงความตองการโปรตีนของโค จึงทําใหโคสาวไดรับโปรตีนในอาหารไม
พอเพียงทั้ง ๆ ที่ถาอาหารหยาบคุณต่ําแบบนี้ ตองใชอาหารขนที่มีโปรตีนถึง 18 %
จํานวนประมาณ 2 – 4 กิโลกรัม จึงจะพอเพียงไดโปรตีนในอาหารรวม ( Diets หรือ
Ration ) ประมาณ 12 – 16 % ตามคําแนะนํา ( รายละเอียดดูบทตอไปเรื่องอาหารและการ
ใหอาหารโคทดแทน ) ดังนั้น การจัดกลุมโคสาวตามขนาดและอายุจึงเปนสิ่งจําเปน
เพื่อใหโคสาวแตละตัวไดกินอาหารตามความตองการ แตสิ่งเล็ก ๆนอย ๆเหลานี้เกษตรกร
มักจะมองขามโดยมีเหตุผลอันเนื่องจากขอจํากัดเรือนโรงเรือน คนเลี้ยงโคมีจํากัด เปน
ตน แตสิ่งที่ควรตองหลีกเลี่ยงคือการเลี้ยงโคหยานมในคอกเดียวกันกับโคสาว
2. ปญหาดานสุขภาพของโคทดแทน
ปญหาดานสุขภาพ เปนปญหาที่สําคัญรองลงมา หรือ มักเกิดรวมกับการใหอาหารที่ไม
ถูกตองไดแก โรคพยาธิทางเดินอาหารเนื่องจากเกษตรกรมักเลี้ยงโคบนพื้นคอกดินแตมัก
ไมมีการถายพยาธิทางเดินอาหารอยางสม่ําเสมอปละ 1 ครั้ง หรือ 2 ครั้งในกรณีที่เลี้ยง
บนคอกดิน รวมทั้งโรคพยาธิในเลือด ( Blood parasites ) ที่สําคัญไดแก โรค
อะนาพลาสโมซีส ( Anaplasmosis ) โรคไขเยี่ยวแดง ( Babesiosis ) และ โรคไท
เลอริโอซีส ( Theileriosis ) ซึ่งมีแมลงดูดเลือด และ เห็บ เปนพาหะ โดยสังเกตภายนอก
จะเห็นโคผอม โตชา ขนหยอง เยื่อเมือกบริเวณชองคลอดซีดกวาปกติ ซึ่งอาจตองมี
การควบคุมเห็บ แมลงดูดเลือด ควบคูไปกับการเจาะเลือดปายแผนกระจก ( Slide ) สง
ตรวจเพื่อวางแผนในการใชยาตาง ๆ ไดแกกลุม คลอเทตราไซคลีน ( Chlotetracycline )
หรือ Imizol ควบคุมแกโคทดแทนในฤดูฝนประมาณ 50 วันซึ่งระยะนี้มีแมลงที่เปน