Page 9 -
P. 9

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


               โรคสุกร                                                                                 9



               ตัวนี้ และเมื่อสุกรมีอาการเครียดเชื้อไวรัสภายในตัวก็จะเพิ่มจํ านวนมากขึ้นและแทรกเขาเนื้อเยื่อของราง
               กาย ซึ่งเปนผลใหสุกรตัวนั้นเริ่มแสดงอาการปวยออกมาใหเห็น







                                                                 สภาพอาเจียน (เปนนํ้ าดี) อาจพบไดในชวง
                                                                 ทายๆ กอนตายในลูกสุกรดูดนม ที่เปนโรค











                       การปองกัน

                              โรคพิษสุนัขบาเทียม สามารถปองกันไดโดย
                              1.  ทํ าวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาเทียมตามโปรแกรมที่กํ าหนดไว (ถามีโรคนี้ระบาด)

                              2.  มีการจัดการควบคุมโรคที่เขมงวด
                              3.  มีการสุขาภิบาลที่ดี
                              4.  มีการเลี้ยงดูและอาหารที่ดี

                              5.  มีการกักโรคและตรวจโรคสุกรใหม
                              6.  กํ าจัดหนู แมลงวัน นก แมวและสุนัขที่เขามาอยูในบริเวณฟารม



                       โปรแกรมการทํ าวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาเทียม

                              1.  สุกรพอและแมพันธุ  ทํ าซํ้ าทุกๆ 4-5  เดือน (วัคซีนเชื้อตาย)  หรือทํ าวัคซีนกับแม
               สุกรทองกอนคลอด 3 สัปดาห และทํ าซํ้ าอีกครั้งกอนคลอด 1 สัปดาห
                              2. สุกรรุน  ทํ าวัคซีนเมื่ออายุประมาณ 8-9  สัปดาห  และใหทํ าวัคซีนซํ้ าอีกครั้งใน 2

               สัปดาห



                       การรักษา
                              โรคพิษสุนัขบาเทียมเกิดจากเชื้อไวรัส ไมมียาที่จะใชรักษาโดยเฉพาะ นอกจากจะรักษา

               ตามอาการ (ลูกสุกรมักตาย จึงไมแนะนํ าใหรักษา)






                                                         แสดงใหเห็นการชักแบบขาตะกุยในลูกสุกรดูดนม  ขา
                                                         จะเกร็ง และตะกุยเปนชวงๆ ในขณะที่หูตั้งและตาถลน

                                                         หรือเบิกกวาง และบางครั้งพบการกระตุกของตา





                                  ๐ กลับไปหนากอนนี้   ๐ หนาถัดไป   ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14