Page 8 -
P. 8
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โรคสุกร 8
โรคพิษสุนัขบาเทียม
โรคนี้เปนโรคระบาดพบวาเปนไดกับสุกรทุกอายุ
แตความรุนแรงของโรคจะเกิดกับลูกสุกร และสุกรเล็ก
อัตราการเกิดโรคและอัตราการตายสูง และสุกรที่ฟน
จากโรคจะเปนพาหนะของโรคและสามารถปลอยเชื้อ
โรคออกมากับลมหายใจ
สาเหตุและอาการของโรค
เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งเชื้อโรคตัวนี้จะเขาสูรางกายสุกรไดโดยการสัมผัสกับสุกรตัวที่เปน
พาหนะของโรคนี้ หรือโดยการกินอาหารหรือนํ้ าที่มีเชื้อนี้ปนอยูหรือโดยการหายใจเอาเชื้อนี้เขาไป หรือ
โดยการผสมพันธุกับสุกรที่เปนโรคนี้ หรือโดยทางเยื่อบุตา (หนูบานสามารถแพรเชื้อโรคตัวนี้ได) และ
เมื่อเชื้อโรคตัวนี้เขาสูรางกายสุกรแลวโรคนี้จะใชเวลาในการฟกโรคนานประมาณ 36-48 ชั่วโมง สุกรก็
จะเริ่มแสดงอาการปวยของโรคนี้ใหเห็น ซึ่งอาการที่สุกรปวยแสดงออกนั้นขึ้นอยูกับอายุคืออาการจะ
รุนแรงในลูกสุกรแรกคลอด โดยลูกสุกรปวยจะลมลงภายในไมกี่ชั่วโมงภายหลังจากการติดเชื้อ มีไขสูงถึง
180 องศาฟาเรนไฮตหรือ 42 องศาเซลเซียส สุกรควบคุมการเคลื่อนไหวไมได ตื่นเตน กลามเนื้อ
กระตุกอยางแรง แลวลมลงโดยขาอยูในลักษณะถีบจักรยาน (อาจพบอาการอาเจียนและทองเสียได)
และนํ้ าลายฟูมปาก
ลูกสุกรอาจไดรับเชื้อตัวนี้กอนคลอด ซึ่งจะพบลูกสุกรตายภายใน 2 วันหลังคลอด และ
ลูกสุกรที่ไดรับเชื้อตัวนี้ทันทีที่คลอดออกมา อาจแสดงอาการใหเห็นเมื่ออายุ 2 วัน และมักตายเมื่ออายุ
5 วัน และพบวาอัตราการตายของลูกสุกรที่มีอายุตํ่ ากวา 2 สัปดาหจะสูงถึง 100 เปอรเซ็นต และอัตรา
การตายของลูกสุกรที่มีอายุมากกวา 3 สัปดาหขึ้นไปจะลดลงประมาณ 50 เปอรเซ็นต เนื่องจากความ
สามารถในการตานโรคมีมากขึ้น เมื่อสุกรโตขึ้นและอัตราการตายจะลดลงเหลือเพียง 5 เปอรเซ็นต ใน
สุกรที่มีอายุ 5 เดือนขึ้นไป
อาการที่พบไดในสุกรรุนที่ปวยคือ มีไขสูง เบื่ออาหาร ไมอยูนิ่ง หายใจลํ าบากตัวสั่น
และควบคุมตัวไมไดโดยเฉพาะสวนของขาหลัง และสุกรปวยจะชักตายในที่สุด (สุกรรุนที่ฟนจากโรคมัก
จะแคระแกรน)
อาการปวยที่พบในสุกรใหญ มักจะไมรุนแรง อาการที่พบไดคือ อาเจียน ทองเสียหรือ
ทองผูก
อาการปวยที่พบไดในสุกรทอง คือ แทงลูก
สุกรปวยที่ฟนจากโรคนี้ พบวามีภูมิคุมกันสูงซึ่งอาจอยูไดเปนป และแมสุกรสามารถ
ถายภูมิคุมกันโรคนี้ใหแกลูกสุกรไดโดยทางนํ้ านมเหลือง ซึ่งสามารถปองกันโรคไดนาน 5 สัปดาหถึง 4
เดือน ซึ่งขึ้นอยูกับระดับภูมิคุมโรคในนํ้ านมเหลืองและปริมาณนํ้ านมเหลืองที่ลูกสุกรกินเขาไป แต
ภูมิคุมกันโรคนี้ไมสามารถปองกันลูกสุกรจากการติดเชื้อไวรัสตัวนี้ได เพียงแตภูมิคุมกันโรคนี้จะปองกัน
ไมใหเชื้อไวรัสแทรกเขาไปในเนื้อเยื่อของลูกสุกรได เมื่อภูมิคุมกันโรคนี้ลดลง สุกรก็จะเริ่มไวตอเชื้อไวรัส
๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ