Page 7 -
P. 7
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โรคสุกร 7
แมสุกรเลี้ยงลูกที่เปนโรคนี้ จะพบตุมนํ้ าใสที่หัวนมดวย
ในกรณีที่สุกรปวยดวยโรคนี้ ซึ่งไมเคยมีประวัติการทํ าวัคซีนมากอน จะพบอาการของ
โรครุนแรงกวาสุกรที่เคยทํ าวัคซีน และอัตราการตายของลูกสุกรและสุกรเล็กอาจสูงถึง 50 เปอรเซ็นต
(ลูกสุกรหรือสุกรเล็กที่ตาย จะพบรอยโรคที่หัวใจซึ่งคลายๆ กับลายเสือ)
สุกรปวยที่ฟนจากโรคนี้จะพบวามีภูมิคุมกันโรคเฉพาะกลุมของไวรัสที่ทํ าใหเกิดการปวย
เทานั้น ซึ่งสามารถปองกันโรคไดนานประมาณ 90-180 วัน และแมสุกรสามารถถายภูมิคุมกันโรคนี้
ใหแกลูกสุกรไดโดยทางนํ้ านมเหลือง ซึ่งคุมกันโรคไดนานหลายสัปดาห
การปองกัน
โรคปากและเทาเปอย สามารถปองกันไดโดย
1. ทํ าวัคซีนปากและเทาเปอยตามโปรแกรมที่กํ าหนดไว
2. มีการจัดการควบคุมโรคที่เขมงวด
3. มีการสุขาภิบาลที่ดี
4. มีการเลี้ยงดูและอาหารที่ดี
5. มีการกักโรคและตรวจโรคสุกรใหม
6. มีการกํ าจัดแมลงวันและนก
โปรแกรมการทํ าวัคซีนปากและเทาเปอย
1. ลูกสุกร ทํ าวัคซีนเมื่อสุกรอายุประมาณ 7 สัปดาห และใหทํ าวัคซีนซํ้ าอีกครั้ง ในอีก
2 สัปดาหตอมา
2. สุกรพอและแมพันธุ ทํ าซํ้ าทุก 4-5 เดือน
การรักษา
โรคปากและเทาเปอยเกิดจากเชื้อไวรัส ไมมียาที่จะใชรักษาโดยเฉพาะ แตโรคนี้ไมทํ าให
สุกรปวยตาย การรักษาจึงทํ าไดเพียงรักษาตามอาการโดย
1. ใชยาทิงเจอรไอโอดีน 5-10 เปอรเซ็นต หรือยาเย็นเซี่ยนไวโอเล็ททาแผลที่เกิด
จากตุมนํ้ าใส
2. ใหยาปฎิชีวนะผสมในอาหารเพื่อปองกันโรคแทรกแกสุกรตัวที่ยังไมแสดงอาการ
และใหยาโดยการฉีดเขาสุกรตัวที่แสดงอาการแลว
3. พนนํ้ ายาจุนสีที่มีความเขมขน 5 เปอรเซ็นตที่กีบ
หมายเหตุ สุกรที่ไมแสดงอาการของโรคใหทํ าวัคซีนซํ้ า 2 ครั้ง ชวงหาง 1 สัปดาห
๐ กลับไปหนากอนนี้ ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ