Page 90 -
P. 90
ิ
ิ
ิ
ื
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 1
จานวนต ้นหลังการถอนแยก (Number of Plants after Thinning): ทันทีที่ถอนแยกเสรจ จะทาการ
็
ั
นบจานวนต ้นต่อหน่วยพื้นที่สุ่ม (แปลงย่อย-unit)
วันโปรยละอองเกสร 50 เปอร์เซ็นต์ ของสายพันธุ์พ่อ (Days to 50% Anthesis of Male Parent):
เมื่อสังเกตุเห็นว่าช่อดอกตัวผู้ของสายพันธุ์พ่อ มีการโปรยละอองเกสร (Anthesis) จานวน 50
เปอร์เซ็นต์ ของช่อดอกทั้งหมดในแต่ละแปลงย่อย ทาการบันทึกข ้อมูลวันออกดอก “Days to 50%
Anthesis” ในการบันทึกข ้อมูลลักษณะการโปรยละอองเกสรนี้ ควรกระท าทุกวันและในเวลาเดียวกัน
วันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ของสายพันธุ์แม่ (Days to 50% Silking of Female Parent): เมื่อ
สังเกตุเห็นว่าช่อดอกตัวเมียของสายพันธุ์แม่ มีการออกไหมยาว 1-2 cm จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ของ
จานวนต ้นทั้งหมดในแต่ละแปลงย่อย ท าการบันทึกข ้อมูลวันออกไหม “Days to 50% Silking) การ
บันทึกข ้อมูลลักษณะการออกไหมนี้ ควรกระทาทุกวันและในเวลาเดียวกันจนครบ 50%
การระบาดของโรคและแมลง (Diseases and Pest Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุได ้ 75-80 วันหลัง
ปลูก หรือ 3-4 สัปดาห์หลังวันออกไหมและก่อนการตัดต ้นตัวผู้ทิ้ง จะท าการบันทึกข ้อมูลจากการ
ู
สังเกตุด ้วยสายตาของการระบาดของโรคและแมลงศัตรที่ส าคัญของข ้าวโพด อันได ้แก่ โรคใบไหม ้
ั
(Leaf Blight) โรคราสนิม (Rust) โรคเขม่าด า(Smut) และหนอนเจาะล าต ้นและฝก (Corn Borror)
ท าการบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน (scoring) ในแต่ละแปลงย่อย 1 – 5 โดยคะแนน 1 = มี
็
การระบาดท าลายน้อยกว่า 10% ในขณะทีคะแนน 3 = มีการระบาดทาลายประมาณ 50% และ
่
คะแนน 5 = มีการระบาดท าลายมากกว่า 70%
็
นับจ านวนต้น บันทึกวันออกไหม ความสูงต้น-ฝัก --- เกบเกียวแปลงย่อย --→
่
→
ั
ลักษณะความสูงต ้นและความสูงต าแหนงฝก (Plant Height and Ear Height Measurements):
่
เมื่อต ้นข ้าวโพดทั้งสายพันธุ์พ่อและสายพันธุ์แม่ ถึงระยะการเจริญเติบโตเต็มที่แล ้วคือประมาณ 75
วันหลังปลูก จนถึง ประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนการตัดต ้นในแถวตัวผู้ จะทาการสุ่มวัดความสูงของล าต ้น
่
ั
สายพันธุ์พ่อ และความสูงของต าแหนงฝกของสายพันธุ์แม่ จานวน 5 ต ้นต่อแปลงย่อย (Plant 1 –
Plant 5 และ Ear 1 – Ear 5) โดยความสูงของล าต ้นจะวัดจากโคนต ้น จากผิวหน้าดินถึงข ้อของใบ
ั
ั
่
ธง และวัดความสูงของต าแหนงฝก จากโคนต ้นจากผิวหน้าดินถึงข ้อของฝกบนสุด
็
ลักษณะรูปทรงต ้น (Plant Aspects Scoring): เปนการสังเกตุลักษณะอันพึงประสงค์ (Aspects)
่
่
ของล าต ้นทั้งต ้นอันเกิดจากพันธุกรรม ได ้แก่ความสมาเสมอของต ้น ความสมาเสมอของต าแหนงฝก
ั
่
ล าต ้นตั้งตรงหรือเอน ใบตั้งหรือเอน ใบกว ้างหรือแคบ การบันทึกลักษณะรูปทรงต ้น จะทาการให ้
คะแนน (scoring) 1 – 5 โดยคะแนน 1 = พอใจมากที่สุด ในขณะที่คะแนน 3 = พอใจปานกลาง
และ คะแนน 5 = พอใจน้อยที่สุด
ลักษณะกาบหุ ้มฝก (Husk Covering Scoring): เมื่อสายพันธุ์แม่ของข ้าวโพดอายุได ้ประมาณ 90-
ั
95 วัน หรือประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว ทาการให ้คะแนน (scoring) ลักษณะกาบหุ ้มฝก 1
ั
ั
– 5 โดยคะแนน 1 = กาบหุ ้มฝกมิดและยาวพ ้นปลายฝก ในขณะที่คะแนน 3 = กาบหุ ้มฝกเพียงมิด
ั
ั
ั
ปลายฝก และคะแนน 5 = ปลายฝกโผล่พ ้นกาบหุ ้มฝก
ั
ั
คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 2
จานวนต ้นทั้งหมดและจ านวนต ้นหักล ้มของสายพันธุ์แม่ (Number of Plants and Number of
Lodgings of Female Line): เมื่อสายพันธุ์แม่อายุ 90-95 วันหลังปลูกหริอทันทีก่อนการเก็บเกี่ยว
ั
ทาการนบจานวนต ้นทั้งหมดของแต่ละหน่วยต ้วอย่าง (sampling unit) 4 ตารางเมตร ใน
89