Page 87 -
P. 87

ิ
                                   ื
                                     ิ
                                                                    ิ
                                                  ์
                                                                                ิ
              โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

             จะต ้องพ่นสารเคมีประเภท pre-emergence ควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืช และในขณะที่ข ้าวโพด
                                                                                ็
                                                                                         ่
             อยู่ในช่วงการเจริญเติบโตและมีวัชพืชขึ้นอยู่ในแปลงทดลอง        จาเปนจะต ้องพนสารเคมีประเภท

                                                                                                        ็
             post-emergence นอกจากนี้ การใช ้ เครื่องมือทุ่นแรงเช่นจอบถาก และเครื่องชักร่องกลบปุย จะเปน
                                                                                                 ๋
             การก าจัดวัชพืชที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
          -  การปองกันก าจัดโรค แมลง และศัตรูข ้าวโพด
                  ้
                                                                                                  ั
                                                       ้
             การคลุกเมล็ดด ้วยสารเคมีก่อนปลูก  จะช่วยปองกันการเกิดโรครานาค ้างของข ้าวโพด  และนบตั้งแต่
                                                                            ้
             ข ้าวโพดเริ่มงอก  ตลอดจนถึงช่วงหลังการออกดอก  ควรจะมีการพ่นยาปองกันการระบาดของแมลง
                                                                                 ้
             ทุกๆ  10-14  วัน  และหากพบว่ามีการระบาดของโรคและการท าลายของแมลงเกินค่า  threshold
             value  ควรจะมีการพ่นสารเคมีก าจัด  ทั้งนี้เพื่อให ้เกิดความสม่าเสมอของการปลอดโรคและแมลงใน

                                    ี้
             แต่ละพันธุ์ทดสอบ ทั้งน เพื่อให ้แปลงทดสอบปลอดภัยจากการระบาดของแมลงต่อช่อดอกตัวผู้และ
             ดอกตัวเมีย  ควรมีการหยอด  Furadan  3G  ในกรวยยอดของต ้นข ้าวโพดทุกต ้น  เมื่อข ้าวโพดอายุ
             ประมาณ 40-45 วันหลังงอก
          -  การถอดดอก (detasselling) ต ้นตัวเมีย
             เมื่อช่อดอกตัวผู้ของต ้นตัวเมียอยู่ในระยะตั้งท ้อง   หรือโผล่พ ้นใบธงแต่ก่อนการโปรยละอองเกสร
                                        ั


                  ็
             จาเปนจะต ้องถอดดอกตัวผู้น้นๆออกให ้หมด      การถอดดอกตัวผู้ควรท าในช่วงเช ้ าตรู่และทาในเวลา
             เดียวกันจนหมดทุกต ้นตัวเมียทั้งแปลงผลิต ซึ่งอาจใช ้ เวลา 7-10 วัน





             แถวตัวผู้และแถวตัวเมีย  ตัดต้นปลอมปน              ถอดยอดต้นตัวเมีย                 ตัดแถวต้นตัวผู้

         -  การตัดต ้นตัวผู้

             เมื่อสายพันธุ์พอมีการโปรยละอองเสรจสิ้นแล ้ว  จาเปนจะต ้องตัดแถวตัวผู้ทิ้ง  เพื่อจะได ้ไม่เกิดการ
                           ่
                                                ็
                                                               ็
             ปะปนเมื่อทาการการเก็บเกี่ยวสายพันธ์แม่ รวมท้งปองกันการสูญสียสายพันธุ์พ่อจากผู้ไม่ประสงค์ดี
                                                            ้

                                                          ั
         -  การเก็บเกี่ยว
             เมื่อสายพันธุ์แม่ของข ้าวโพดในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์มีอายุ  50-55  วันหลังการผสมเกสร  หรือเมื่อ
             เมล็ดข ้าวโพดมีความชื้นต ่ากว่า 30% ควรก าหนดวันเก็บเกี่ยวให ้สอดคล ้องกับความพร้อมของหน่วย
             ปรับสภาพเมล็ดพันธุ์  และในช่วง  5-7  วันก่อนการเก็บเกี่ยวของแต่ละหน่วยตัวอย่าง  (sampling

             unit)  จะต ้องมีการนบจานวนต ้นทั้งหมดที่จะเก็บเกี่ยวและจานวนต ้นหักล ้ม  และในขณะเก็บเกี่ยว
                                  ั

                                           ั
                                             ั
                                 ั
                                                                                      ั
                        ั

             จะต ้องสุ่มนบจานวนฝก  นาหนกฝก  และบันทึกลักษณะทางการเกษตรของฝก  ตามตารางบันทึก
                                      ้

             ข ้อมูลให ้ครบถ ้วน

             การบันทึกและรวบรวมข้อมูล
                                                                                    ็
                                                                 ่

             ในการผลิตเมล็ดพันธุ์พันธุ์ข ้าวโพดเพือการค ้าในระดับไร-นาเกษตรกร  จาเปนจะต ้องผลิตเปนแปลง
                                                ่
                                                                                                  ็
             ใหญ่  ท้งด ้านกว ้างและด ้านยาว  ดังน้น  ในการบันทึกข ้อมูลเพื่อการทดลองด ้านการเจริญเติบโต
                                                  ั
                      ั
             ลักษณะทางการเกษตร ผลผลิต องค์ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ ควรที่จะเก็บ
             ข ้อมูลจากพื้นที่ที่ได ้จากการสุ่ม
                                             ั
                               ็
             ในการทดลองดังเปนตัวอย่างในคร้งนี้ที่มีระบบการผลิตมากกว่า  1  ระบบ  ก าหนดให ้มีการสุ่มเก็บ
             ข ้อมูล 4 หน่วยพื้นที่ (unit) ขนาดเท่าๆกัน ตัวอย่างเช่น 2 แถว x 3 เมตร (ประมาณ 4 ตารางเมตร)
             ต่อหนวยของทั้งสายพันธุ์ตัวผู้และสายพันธุ์ตัวเมีย เพื่อที่จะค านวนค่าเฉลี่ยและค่าวิเคระห์จาก 4 ซ ้า
                   ่
             ตามล าดับของลักษณะและการเจริญเติบโตของสายพันธุ์พ่อและสายพันธุ์แม่ของข ้าวโพด ดังปรากฏ
                       ่
             ในตารางที 1 ถึงตารางที 4 ต่อไปน  ี้
                                    ่

                                                        86
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92