Page 86 -
P. 86
์
ิ
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ควรปลูกแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ก่อนหรือหลังการปลูกข ้าวโพดพันธุ์อื่น 20-30 วัน เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ออกดอกในช่วงเดียวกัน (time isolation)
ส าหรับการปลูกในแต่ละวิธีการ (method) จะต ้องจัดการทั้งระยะระหว่างแถว และระยะระหว่างหลุม
เปนไปตามผังที่จัดไว ้ในแต่ละวิธีการ และปลูกในเวลาเดียวกันให ้เสรจสิ้นในระยะเวลาที่สั้นที่สุด
็
็
่
นอกจากนี้ เพื่อให ้ระยะระหว่างต ้นมีความสมาเสมอตามก าหนด รวมทั้งให ้จ านวนต ้นตรงกับความยาว
ของแถว ควรใช ้ เครื่องมือปลูกที่ก าหนดระยะปลูกได ้ เช่น corn jab หรือเครื่องเครื่องหยอดเมล็ด
ั
อัตโนมติแบบเข็นปลูก หรือใช ้ เครื่องปลูกติดทายรถแทรกเตอร์ ทันทีหลังจากการปลูก ควรปองกัน
้
ู
การท าลายของแมลงและสัตว์ศัตรด ้วย Furadan 3G โรยบนแถวปลูกตลอดแนว
ปลูก ให้น ้า ถอนแยก ใส่ปุย
๋
้
- การให ้นาชลประทาน
้
็
็
ทันทีที่ปลูกแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์เสรจสิ้น จ าเปนจะต ้องมีการให ้นาเพื่อให ้เมล็ดดูดซับความชื้น
้
ส าหรับการงอกอย่างสม่าเสมอ ต่อจากน้น ควรมีการให ้นาชลประทานให ้ดินมีความชื้นในระดับ field
ั
capacity อย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะในช่วงการออกดอก การผสมเกษรและการสร้างเมล็ด
จนกระทั่งถึง 2 สัปดาห์ก่อนการเก็บเกี่ยว การให ้นาชลประทานส าหรับข ้าวโพด สามารถทาได ้โดย
้
การให ้นาแบบ flooding หรือ furrow ในร่องปลูก การให ้นาระบบ mini sprinkler ระบบนาหยด หรือ
้
้
้
้
็
้
ระบบนาพุ่งเปนต ้น มีข ้อสังเกตว่า การให ้นาที่ใบข ้าวโพดได ้รับนาโดยตรง จะเปนการช่วยให ้ใบ
็
้
สะอาด รวมทั้งมีการชะล ้างเชื้อโรคและแมลงได ้ในระดับหนึ่งด ้วย
- การถอนแยก
เมื่อข ้าวโพดเจริญเติบโตถึงระยะ V3 หรือในช่วง 14-21 วันหลังงอก จ าเปนจะต ้องทาการถอนแยก
็
ให ้เหลือหลุมละ 1 ต ้น ในกรณีที่หลุมใดหลุมหนึ่งไม่มีต ้นงอก จะทาการชดเชยในหลุมต่อไปเปน
็
่
(ไม่เกิน) 2 ต ้น ทั้งนี้เพื่อให ้ในแต่ละหนวยพื้นที่มีจานวนต ้นในช่วงการเจริญเติบโต รวมทั้งจานวนต ้น
เก็บเกี่ยวในแต่ละหน่วยพื้นที่เท่ากัน
- การก าจัดต ้นปลอมปน
เมื่อข ้าวโพดในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ ทั้งแถวตัวผู้และแถวตัวเมียงอกในระยะ V2 หรือประมาณ 1-2
็
สัปดาห์หลังงอก มีความจ าเปนจะต ้องก าจัดต ้นปลอมปน (volunteer plants) ที่เกิดจากเมล็ดของ
ั
็
พันธุ์อื่นที่ตกค ้างในดิน และในระยะต่อจากน้นจนถึงระยะก่อนการออกดอก มีความจาเปนที่จะต ้อง
ก าจัด (rouging) ต ้นปลอมปนอันเนื่องจากพันธุกรรม ให ้หมดสิ้นออกจากแปลง
๋
- การใส่ปุย
ตั้งแต่ข ้าวโพดเริ่มมีรากโผล่และสัมผัสกับดิน ข ้าวโพดจะมีความต ้องการธาตุอาหารอย่างพอเพียง
ส าหรับการเจริญเติบโต ดังน้น ควรจะมีการใส่ปุยให ้กับดินตั้งแต่การเตรียมดิน และแบ่งใส่เพิ่มเติม
ั
๋
ั
็
อีก 1-2 คร้ง ทั้งนี้ ชนิดของปุยและปริมาณของปุยที่จะใส่ให ้กับข ้าวโพด ควรเปนไปตามค่าวิเคราะห์
๋
๋
ดินและค่าวิเคราะห์พืช
๋
เพื่อให ้แปลงผลิตเมล็ดพันธุ์มีธาตุอาหารพอเพียงที่จะให ้เมล็ดอย่างสมบูรณ ์ แนะนาให ้มีการใส่ปุย
ั
รองพื้นพร้อมปลูกสูตร 15-15-15 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ปุย top dress คร้งที่ 1 สูตร 46-
๋
0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร + สูตร 0-0-60 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร เมื่อข ้าวโพดอายุ 25-30 วัน
่
่
หรือหลังการถอนแยก และ top dress คร้งที่ 2 ด ้วยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ ในช่วง
ั
ก่อนการออกดอก (45-50 วันหลังปลูก)
- การปองกันก าจัดวัชพืช
้
็
วัชพืชที่ขึ้นในแปลงทดลองข ้าวโพด จะเปนตัวแย่งนา ธาตุอาหาร และแสงแดด รวมทั้งอาจเปน
้
็
ั
็
พาหะของโรคและแมลงสู่ข ้าวโพดอีกด ้วย ดังน้น ทันทีที่ปลูกเสรจและดินมีความชื้นพอเพียง จ าเปน
็
85