Page 37 -
P. 37
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
บทที่ 4
การทดสอบพันธุ์ข ้าวโพดหวานและพันธุ์ข ้าวโพดข ้าวเหนียว
ในระดับไร่-นาเกษตรกร
ี
ข ้าวโพดหวาน (Sweet Corn) และข ้าวโพดข ้าวเหนยว (Waxy Corn or Glutinous Corn) เป็นพืชที ่
ิ้
้
ั
เก็บเกี่ยวฝกสดในระยะนานม ส าหรับผู้บริโภคในลักษณะต ้ม ปง ย่าง หรือแปรรูปในภาคอุตสาหกรรม
ดังน้น ลักษณะของพันธุ์ที่ดี นอกจากจะมีผลผลิตสูงและลักษณะทางการเกษตรที่ดีแล ้ว ยังจะต ้องมี
ั
ลักษณที่วัดได ้ (parameter) เชิงคุณภาพที่ดีอีกด ้วย ซึ่งลักณะเชิงคุณภาพนี้ สามารถบันทึกข ้อมูล
ได ้ทั้งในระดับสถานีวิจัยและในระดับไร่-นาเกษตรกร เช่น ลักษณะคุณภาพความหวานของเมล็ด
(soluble sugar contents) ในขณะที่ลักษณะเชิงคุณภาพบางลักษณะ เช่น การวัดค่าความหนา/
บาง ของเยื่อหุ ้มเมล็ด (pericarp) อาจจะมีข ้อจ ากัดในการทดสอบพันธุ์ที่หลากหลายในระดับไร่-นา
้
ั
เกษตรกร ดังน้นผู้วิจัยในระดับไร่-นาเกษตรกร ควรจะก าหนดเปาหมายการบันทึกข ้อมูลให ้ชัดเจน
และมีประสิทธิภาพให ้มากที่สุด
ในการก าหนดกรอบและการวางแผนการวิจัยส าหรับการทดสอบพันธุ์ข ้ าวโพดหวาน (SC) และพันธุ์
ข ้าวโพดข ้าวเหนียว (WC) ในระดับไร่-นาเกษตรกร ควรมีการวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อค
สมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design, RCBD) จานวน 3-4 ซ ้า (replication) โดยจ ากัด
ให ้มีพันธุ์ทดสอบเพียง 8-10 พันธุ์ และมีพันธุ์เปรียบเทียบ (checked variety) จานวน 2 พันธุ์ โดย
พันธุ์เปรียบเทียบนี้ ควรเปนพันธุ์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุด 1 พันธุ์ และพันธุ์ที่เกษตรกรร่วม
็
โครงการใช ้ อีก 1 พันธุ์
ในการวางแผนการปลูก จะต ้องท าการสุ่มพันธุ์ในแต่ละซ ้ าตามตาราง (Random Sheet) และก าหนด
แผนผังการทดลอง (Block Layout) ส าหรับ 12 พันธุ์ และ 3 ซ ้า ดังน ี้
็
หมายเหตุ: การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานใน Trial เดียวกัน ควรเปนพันธุ์ที่มีพันธุกรรม (gene)
ี้
กลุ่มเดียวกัน ได ้แก่ ซูการี่ (su2su2) หรือ ชรังเค่น (sh2sh2) หรือ บริทเทิ้ล (bt2bt2) ทั้งนเพื่อ
หลีกเลี่ยงการปนเปอนของละอองเกษร อันจะทาให ้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของข้าวโพด
ื้
หวาน
RANDOM SHEET FOR SWEET CORN (SC) VARIETY TESTING RANDOM SHEET FOR WAXY CORN (WC) VARIETY TESTING
Entry Variety Origin Pedigree Rep. I Rep. II Rep. III Entry Variety Origin Pedigree Rep. I Rep. II Rep. III
No. No.
1 SC 01 3101 3208 3303 1 WC 01 4101 4208 4303
2 SC 02 3102 3204 3310 2 WC 02 4102 4204 4310
3 SC 03 3103 3211 3307 3 WC 03 4103 4211 4307
4 CHECK-02 3104 3210 3306 4 CHECK-02 4104 4210 4306
5 SC 04 3105 3202 3301 5 WC 04 4105 4202 4301
6 SC 05 3106 3209 3311 6 WC 05 4106 4209 4311
7 SC 06 3107 3203 3304 7 WC 06 4107 4203 4304
8 CHECK-01 3108 3206 3305 8 CHECK-01 4108 4206 4305
9 SC 07 3109 3212 3312 9 WC 07 4109 4212 4312
10 SC 08 3110 3201 3302 10 WC 08 4110 4201 4302
11 SC 09 3111 3205 3308 11 WC 09 4111 4205 4308
12 SC 10 3112 3207 3309 12 WC 10 4112 4207 4309
ค าอธิบายการจัดท า RANDOM SHEET การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวาน และพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว
1. ก าหนดให้มีการสุ่มพันธุ์ที่จะใช้ทดสอบ แล้วเรียงล าดับ SC01 - SC10 (ข้าวโพดหวาน) และ WC01 - WC10 (ข้าวโพดข้าวเหนียว ) และก าหนดให้สุ่มพันธุ์เปรียบเทียบ
(check variety) แทรกอยู่ทุกๆ 3-4 พันธุ์ทดสอบ เพื่อความชั ดเจนของการเปรียบเทียบในซ ้าที่ 1 ในช่วงของการบันทึกข้อมูล
2. ก าหนดให้มีการบันทึก Origin และ Pedigree ของแต่ละพันธุ์ทดสอบ ทั้งข้าวโพดหวานและข้าวโพดข้าวเหนียว เพื่อประโยชน์ในช่วงของการบันทึกข้อมูล
3. ก าหนดให้หมายเลขล าดับที่ 1 ของต่ละแปลงย่อยทั้ง 3 ซ ้า หมายถึงการทดลองที่ 3 (ข้าวโพดหวาน) และการทดลองที่ 4 (ข้าวโพดข้าวเหนียว) ของฤดูปลูก
4. ก าหนดให้หมายเลขล าดับที่ 2 ของแต่ละแปลงย่อย ได้แก่ "1", "2" และ "3" แสดงถึงแปลงย่อยในซ ้าที่ 1, 2 และ 3 ตามล าดับ
5. ก าหนดให้แปลงย่อยในซ ้าที่ 1 เรียงล าดับตาม entry ในขณะที่ซ ้าที่ 2 และซ ้าที่ 3 มีการสุ่มภายใน block อย่างสมบูรณ์
และมีการสุ่มในทุกๆสภาพแวดล้อม (location) ของการทดลอง
36