Page 39 -
P. 39
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ปลูก ให้น ้า ถอนแยก ใส่ปุ๋ ย
้
- การให ้นาชลประทาน
ทันทีที่ปลูกเสรจสิ้นในแต่ละการทดลอง จาเปนจะต ้องมีการให ้นาเพื่อให ้เมล็ดดูดซับความชื้นส าหรับ
็
้
็
้
การงอก และมีการให ้นาชลประทานให ้ดินมีความชื้นในระดับ field capacity อย่างสม่าเสมอ
โดยเฉพาะในช่วงการออกดอก การผสมเกษรและการสร้างเมล็ด จนกระทั่งถึงช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
การให ้นาชลประทานส าหรับข ้าวโพด สามารถทาได ้โดย การให ้นาแบบ flooding หรือ furrow ใน
้
้
็
ร่องปลูก การให ้นาระบบ mini sprinkler ระบบนาหยด หรือระบบนาพุ่งเปนต ้น มีข ้อสังเกตว่า การให ้
้
้
้
้
็
นาที่ใบข ้าวโพดได ้รับนาโดยตรง จะเปนการช่วยให ้ ใบสะอาด รวมทั้งมีการชะล ้างเชื้อโรคและแมลง
้
ได ้ในระดับหนึ่งด ้วย
- การถอนแยก
็
เมื่อข ้าวโพดเจริญเติบโตถึงระยะ V3 หรือในช่วง 14-21 วันหลังงอก จ าเปนจะต ้องทาการถอนแยก
็
ให ้เหลือหลุมละ 1 ต ้น ในกรณีที่หลุมใดหลุมหนึ่งไม่มีต ้นงอก จะทาการชดเชยในหลุมต่อไปเปน
(ไม่เกิน) 2 ต ้น ทั้งนี้เพื่อให ้ในแต่ละแถวมีจานวนต ้น รวมทั้งจานวนต ้นเก็บเกี่ยวในแต่ละแปลงย่อย
เท่ากัน
๋
- การใส่ปุย
ตั้งแต่ข ้าวโพดเริ่มมีรากโผล่และสัมผัสกับดิน ข ้าวโพดจะมีความต ้องการธาตุอาหารอย่างพอเพียง
ั
ส าหรับการเจริญเติบโต ดังน้น ควรจะมีการใส่ปุยให ้กับดินตั้งแต่การเตรียมดิน และแบ่งใส่เพิ่มเติม
๋
ี้
๋
๋
อีก 1-2 คร้ง ทั้งน ชนิดของปุยและปริมาณของปุยที่จะใส่ให ้กับข ้าวโพด ควรเปนไปตามค่าวิเคราะห์
ั
็
ดินและค่าวิเคราะห์พืช
จากข ้อมูลพื้นฐานจากการวิจัยข ้าวโพดหวานสามารถสรุปได ้ว่า ถ ้าต ้องการให ้ข ้าวโพดหวานได ้รับ
ผลผลิตฝกสด 2,300-2,500 กิโลกรัมต่อไร่ จ าเปนจะต ้องให ้ข ้าวโพดได ้รับปริมาณธาตุ N - P2O5 –
ั
็
K2O ประมาณ 30 – 10 - 30 กิโลกรัมต่อไร่
่
ในกรณีน แนะนาให ้มีการใส่ปุยรองพื้นพร้อมปลูกสูตร 15-15-15 จานวน 40 กิโลกรัมต่อไร ใส่ปุย
๋
๋
ี้
top dress คร้งที่ 1 สูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ + สูตร 0-0-60 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่
ั
ั
เมื่อข ้าวโพดอายุ 25-30 วัน หรือหลังการถอนแยก และ top dress คร้งที่ 2 ด ้วยสูตร 46-0-0 อัตรา
่
30 กิโลกรัมต่อไร ในช่วงก่อนการออกดอก (45-50 วันหลังปลูก)
็
ส าหรับข ้าวโพดหวานและข ้าวโพดข ้าวเหนียวที่จาเปนจะต ้องให ้คุณภาพของผลผลิตดีเพียงพอ
่
๋
ส าหรับผู้บริโภค แนะนาให ้ใส่ปุยคอกในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร ในช่วงของการเตรียมดิน
- การปองกันก าจัดวัชพืช
้
็
็
วัชพืชที่ขึ้นในแปลงทดลองข ้าวโพด จะเปนตัวแย่งนา ธาตุอาหาร และแสงแดด รวมทั้งอาจเปน
้
พาหะของโรคและแมลงสู่ข ้าวโพดอีกด ้วย ดังน้น ทันทีที่ปลูกเสรจและดินมีความชื้นพอเพียง จ าเปน
ั
็
็
จะต ้องพ่นสารเคมีประเภท pre-emergence ควบคุมการงอกของเมล็ดวัชพืช และในขณะที่ข ้าวโพด
่
อยู่ในช่วงการเจริญเติบโตและมีวัชพืชขึ้นอยู่ในแปลงทดลอง จาเปนจะต ้องพนสารเคมีประเภท
็
post-emergence นอกจากน การใช ้ เครื่องมือทุ่นแรงเช่นจอบถาก และเครื่องชักร่องกลบปุย จะเปน
็
๋
ี้
การก าจัดวัชพืชที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
้
- การปองกันก าจัดโรค แมลง และศัตรูข ้าวโพด
้
้
ั
การคลุกเมล็ดด ้วยสารเคมีก่อนปลูก จะช่วยปองกันการเกิดโรครานาค ้างของข ้าวโพด และนบตั้งแต่
ข ้าวโพดเริ่มงอก ตลอดจนถึงช่วงหลังการออกดอก ควรจะมีการพ่นยาปองกันการระบาดของแมลง
้
ทุกๆ 10-14 วัน และหากพบว่ามีการระบาดของโรคและการท าลายของแมลงเกินค่า threshold
value ควรจะมีการพ่นสารเคมีก าจัด ทั้งนี้เพื่อให ้เกิดความสม่าเสมอของการปลอดโรคและแมลงใน
ี้
แต่ละพันธุ์ทดสอบ ทั้งน เพื่อให ้แปลงทดสอบปลอดภัยจากการระบาดของแมลงต่อช่อดอกตัวผู้และ
38